ในช่วงสงครามโลกครั้งที่
๒ กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ามาสร้างเส้นทางรถไฟในประเทศไทย
๒ เส้นทางด้วยกัน
เพื่อใช้ในการส่งเสบียงและกองหนุนไปทำการรบในประเทศพม่า
(ขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ)
เส้นทางแรกที่เป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลกคือเส้นทางที่แยกจากบ้านโป่งไปยังกาญจนบุรี
เหตุผลที่เส้นทางนี้เป็นที่รู้จักก็เพราะมีการนำเอาเชลยศึกมาใช้เป็นแรงงานในการก่อสร้างส่วนหนึ่ง
ส่วนอีกเส้นทางหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันน้อยกว่าแม้แต่ในหมู่คนไทยด้วยกันคือเส้นทางที่แยกจากทางรถไฟสายใต้ที่จังหวัดชุมพร
เลียบถนน (ปัจจุบันคือถนนเพชรเกษม)
ไปยังจังหวัดระนอง
เหตุผลที่เส้นทางรถไฟไปยังจังหวัดระนองนี้เป็นที่รู้จักกันน้อยกว่าคงเป็นเพราะการก่อสร้างนั้นใช้แรงงานกรรมกร
(ไม่ได้มีการใช้เชลยศึก)
เป็นเส้นทางสายสั้นมีอายุการใช้งานไม่นาน
กล่าวคือเริ่มสร้างเมื่อช่วงครึ่งหลังของสงคราม
และเริ่มมีการวางแผนการรื้อถอนรางก่อนที่สงครามจะสิ้นสุด
ด้วยญี่ปุ่นเกรงว่าทัพอังกฤษจะใช้เส้นทางนี้ในการลำเลียงทหารจากฝั่งทะเลอันดามันมายังฝั่งอ่าวไทย
และจะสามารถตัดการเชื่อมต่อของกองทัพญี่ปุ่นในไทยและในสิงค์โปร์ได้
รูปที่ ๑ แผนที่ทหารหัส L509 จัดทำขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างกองทัพสหรัฐกับกรมแผนที่ทหารของไทย ข้อมูลในแผนที่คาดว่าเป็นในปีค.ศ. ๑๙๕๗ (พ.ศ. ๒๕๐๐) หรือก่อนหน้านั้น เส้นสีแดงคือถนนเพชรเกษมในปัจจุบัน โดยด้านทิศเหนือของถนนที่แยกจากชุมพรไประนอง (ทางซ้ายของรูป) จะแสดงเส้นทางรถไฟไประนอง และกำกับไว้ว่า "ABAND" (ย่อจาก abandon) หมายถึงเส้นทางที่เลิกใช้แล้ว
รูปที่ ๒ ในหน้าที่แล้วนำมาจากจากบทความเรื่อง "Two new railways in south east asia" เขียนโดย R. Rees Rawson จากวารสาร The Geographical Journal vol 108 no. 1/3 (Jul-Sep 1946) หน้า 85-88 แสดงแผนที่เส้นทางรถไฟที่เชื่อมต่อระหว่างสิงค์โปร์ มาเลเซีย ไทย พม่า (ผ่านทางกาญจนบุรี) ในแผนที่นี้มีภาพขยายของเส้นทางรถไฟแยกจากจังหวัดชุมพรไปยังจังหวัดระนองในกรอบด้านล่างซ้ายของภาพ
ยุทธปัจจัยที่กองทัพญี่ปุ่นลำเลียงมาทางเรือมีการเข้าเทียบท่าที่
สัตหีบ กรุงเทพ สงขลา และชุมพร
จากท่าเรือที่ชุมพรจะสามารถลำเลียงต่อไปยังจังหวัดระนองเพื่อขนถ่ายลงเรือไปยังส่วนต่าง
ๆ ของประเทศพม่าได้
ซึ่งเป็นเส้นทางทำเลียงอีกเส้นทางหนึ่งนอกเหนือไปจากเส้นทางรถไฟผ่านทางจังหวัดกาญจนบุรี
ตรงนี้ต้องขอแทรกนิดนึงว่าในช่วงก่อนเดือนมีนาคม
ค.ศ.
๑๙๔๕
(พ.ศ.
๒๔๘๘)
กองทัพญี่ปุ่นยังครอบครองพื้นที่พม่าเอาไว้ได้เกือบหมด
คือทางด้านตะวันตกนั้นเข้าไปประชิดพรมแดนอินเดีย
ส่วนทางด้านเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือนั้นก็ประชิดกับพรมแดนจีน
(เพื่อตัดเส้นทางลำเลียงทางบกระหว่างอินเดียกับจีนของทัพสัมพันธมิตร)
และในช่วงเวลานี้ก็ได้มีการเตรียมแผนการณ์รุกเข้ายึดเมือง
Kohima
และ
Imphal
ที่เป็นเมืองชายแดนของอินเดียและเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างพม่าและอินเดีย
รูปที่ ๓ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟไปยังจังหวัดระนอง ณ บ้านนาเนียน จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๙ เดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/SUK14070/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Na
Nien (near Chumphon), Thailand. 1945-03-19. An RAF Liberator aircraft
of Strategic Air Force, Eastern Air Command, flying over the
smoke-covered target area at Na Nien, a rail centre heavily used by
the Japanese.
การบินเข้ามาทิ้งระเบิดในประเทศไทยมีอยู่สองเส้นทาง
เส้นทางแรกคือพวกที่มาจากทางตอนใต้ของจีน
เหมาะแก่การเข้าโจมตีทางภาคเหนือ
อีกเส้นทางคือมาจากอินเดีย
วิ่งอ้อมทิศใต้ของพม่าคือบินออกทะเล
(เพื่อป้องกันการตรวจจับ)
แล้วตัดทางด้านภาคใต้ของพม่า
เข้ามาโจมตีประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นภาคใต้
กาญจนบุรี หรือภาคกลาง
ในขณะเวลาเดียวกันทางอังกฤษเองก็เตรียมการตีโต้กลับเพื่อยึดพม่าคืน
การโจมตีทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟในช่วงก่อนหน้าเดือนมีนาคม
๑๙๔๕ จึงเป็นการตัดการส่งกำลังบำรุงของกองทัพญี่ปุ่น
และเมื่อกองทัพญี่ปุ่นพลาดท่าในการรบที่สมรภูมิเมือง
Kohima
และ
Imphal
ก็เป็นการเริ่มการถอยร่นอย่างไม่เป็นขบวนของกองทัพญี่ปุ่นในพม่าภายใต้การไล่ตามมาติด
ๆ ของกองทัพอังกฤษและอินเดีย
การทิ้งระเบิดเส้นทางลำเลียงในช่วงนี้จึงเป็นทั้งการตัดการส่งเสบียงและตัดทางหนีของกองทัพญี่ปุ่น
สถานการณ์ในขณะนั้นญี่ปุ่นคงยังหวังว่าสำหรับการรบทางบกแล้วยังมีโอกาสที่จะยันทัพอังกฤษ-อินเดียเอาไว้ได้ในพม่า
จึงเลือกที่จะเก็บเส้นทางรถไฟสายกาญจนบุรีเอาไว้
แต่ที่ทางญี่ปุ่นไม่แน่ใจคือถ้าหากมีการยกพลทางเรือขึ้นบกทางภาคใต้ไทย
โดยเฉพาะที่จังหวัดระนอง
ทางกองทัพญี่ปุ่นจะสามารถยันเอาไว้ได้
ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ทางกองทัพญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะรื้อเส้นทางรถไฟเชื่อมต่อระหว่างระนองกับชุมพรออก
แต่สงครามก็สิ้นสุดเสียก่อนที่การรื้อจะเสร็จสมบูรณ์
รูปที่ ๔ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟไปยังจังหวัดระนอง ณ บ้านนาเนียน จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๙ เดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/SUK14071/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Na
Nien (near Chumphon), Thailand. 1945-03-19. An RAF Liberator aircraft
of Strategic Air Force, Eastern Air Command, on its way back to base
after attacking the railway siding at Na Nien. The burning target is
in the background.
Memoir
ฉบับนี้ถือเสียว่าเป็นการเอารูปภาพที่เก็บเอาไว้นานแล้วมาแบ่งปันให้ดูกัน
ส่วนคำบรรยายรูปจะถูกต้องแค่ไหนนั้นคงต้องพิจารณากันอีกที
เพราะมีบ้างเหมือนกันที่พบว่ารูปภาพนั้นเป็นของสถานที่หนึ่งแต่คำบรรยายรูปเป็นของอีกสถานที่หนึ่ง
หรือรูปมีการกลับด้านซ้ายขวา
รูปที่ ๕ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟไปยังจังหวัดระนอง ณ บ้านนาเนียน จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๙ เดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/SUK14072/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Na
Nien (near Chumphon), Thailand. 1945-03-19. The whole of the target
area at Na Nien railway centre burning fiercely after being attacked
by RAF Liberator aircraft of Strategic Air Force, Eastern Air
Command.
รูปที่
๖ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟไปยังจังหวัดระนอง
ณ บ้านนาเนียน จังหวัดชุมพร
ในวันที่ ๑๙ เดือนมีนาคม
ค.ศ.
๑๙๔๕
(พ.ศ.
๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/P02491.313/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Na
Nien, Thailand. 19 March 1945. A low level oblique view from one of
the RAF attacking aircraft showing the whole of the target area
burning fiercely. To disrupt Japanese supplies reaching the Burma
front, over eighty heavy bombers of Strategic Air Force, Eastern Air
Command, flew across the Indian Ocean in the longest raid they have
yet accomplished. When the crew returned from their mission, some of
them had been in the air for seventeen and a half hours and had flown
2,500 miles. While US Army Air Force B-24 bomber aircraft attacked a
series of targets south of Chumphon in the Gulf of Siam, RAF
Liberator aircraft attacked the heavily used railway sidings, eight
miles west of Chumphon. Some of the aircraft, which went into attack
from as low as 400 feet, saw prisoners of war (POWs) waving to them
as they passed over the Kra Isthmus. The whole sidings were covered
by the attack and many railway buildings were left burning while one
part of the sidings was completely burnt out. Trains were set on
fire, and a large oil fire started. Not content with this devastating
attack some of the crews flew another fifty miles further south and
strafed locomotives on the Singapore rail route.
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/P02491.311/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Na
Nien, Thailand. 19 March 1945. A Japanese train transporting oil has
been hit in the middle of the sidings, and great clouds of blacksmoke
billow skywards. To disrupt Japanese supplies reaching the Burma
front, over eighty heavy bombers of Strategic Air Force, Eastern Air
Command, flew across the Indian Ocean in the longest raid they have
yet accomplished. When the crew returned from their mission, some of
them had been in the air for seventeen and a half hours and had flown
2,500 miles. While US Army Air Force B-24 bomber aircraft attacked a
series of targets south of Chumphon in the Gulf of Siam, RAF
Liberator aircraft attacked the heavily used railway sidings, eight
miles west of Chumphon. Some of the aircraft, which went into attack
from as low as 400 feet, saw prisoners of war (POWs) waving to them
as they passed over the Kra Isthmus. The whole sidings were covered
by the attack and many railway buildings were left burning while one
part of the sidings was completely burnt out. Trains were set on
fire, and a large oil fire started. Not content with this devastating
attack some of the crews flew another fifty miles further south and
strafed locomotives on the Singapore rail route.
รูปที่ ๘ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟไปยังจังหวัดระนอง ณ บ้านนาเนียน จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๙ เดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘)
รูปที่ ๘ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟไปยังจังหวัดระนอง ณ บ้านนาเนียน จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๙ เดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/SUK14073/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Na
Nien (near Chumphon), Thailand. 1945-03-19. RAF Liberator aircraft of
Strategic Air Force, Eastern Air Command on its way back to base
after the attack on the railway centre of Na Nien.
รูปที่
๙ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟไปยังจังหวัดระนอง
ณ บ้านนาเนียน จังหวัดชุมพร
ในวันที่ ๑๙ เดือนมีนาคม
ค.ศ.
๑๙๔๕
(พ.ศ.
๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/P02491.310/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Na
Nien, Thailand. 19 March 1945. This vivid deck-level view shows a
stick of bombs bursting on storage sheds at the railway sidings,
while another RAF Liberator aircraft flies over the target area. To
disrupt Japanese supplies reaching the Burma front, over eighty heavy
bombers of Strategic Air Force, Eastern Air Command, flew across the
Indian Ocean in the longest raid they have yet accomplished. When the
crew returned from their mission, some of them had been in the air
for seventeen and a half hours and had flown 2,500 miles. While US
Army Air Force B-24 bomber aircraft attacked a series of targets
south of Chumphon in the Gulf of Siam, RAF Liberator aircraft
attacked the heavily used railway sidings, eight miles west of
Chumphon. Some of the aircraft, which went into attack from as low as
400 feet, saw prisoners of war (POWs) waving to them as they passed
over the Kra Isthmus. The whole sidings were covered by the attack
and many railway buildings were left burning while one part of the
sidings was completely burnt out. Trains were set on fire, and a
large oil fire started. Not content with this devastating attack some
of the crews flew another fifty miles further south and strafed
locomotives on the Singapore rail route.
รูปที่
๑๐ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟสายใต้
ณ จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๗
เดือนมิถุนายน ค.ศ.
๑๙๔๕
(พ.ศ.
๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/P02491.344/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Chumphon,
Thailand. 17 June 1945. Aircraft of No. 356 (Liberator) Squadron RAF
of the Strategic Air Force, Eastern Air Command made a forty-mile
sweep on the railway south of Chumphon on the Bangkok-Singapore
railway. Bridges, rolling-stock, and marshalling yards were attacked.
Aerial view from an attacking aircraft on another section of the
Bangkok-Singapore railroad, shows a direct hit on a train. The
peculiar explosion of the bomb burst, combined with the railroad
track makes a gigantic 'V' over the train
รูปที่ ๑๑ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟสายใต้ ณ จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๗ เดือนมิถุนายน ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘) รูปนี้น่าจะเป็นรูปหลังเหตุการณ์ในรูปที่ ๑๐
Chumphon,
Thailand. 17 June 1945. Aircraft of No. 356 (Liberator) Squadron RAF
of the Strategic Air Force, Eastern Air Command made a forty-mile
sweep on the railway south of Chumphon on the Bangkok-Singapore
railway. Bridges, rolling-stock, and marshalling yards were attacked.
This low level view immediately after the attack on the train on the
Bangkok-Singapore railway, shows rolling-stock lying scattered about
the bomb-pitted permanent way
รูปที่ ๑๒ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟสายใต้ ณ จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๗ เดือนมิถุนายน ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘)
รูปที่ ๑๒ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟสายใต้ ณ จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๗ เดือนมิถุนายน ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/P02491.346/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Chumphon,
Thailand. 17 June 1945. Aircraft of No. 356 (Liberator) Squadron RAF
of the Strategic Air Force, Eastern Air Command made a forty-mile
sweep on the railway south of Chumphon on the Bangkok-Singapore
railway. Bridges, rolling-stock, and marshalling yards were attacked.
This interesting view of the marshalling yards, key junction on the
Kra Isthmus for all supplies and military material for the Japanese
armies in Burma and Thailand, shows the damage caused by the heavy
attack carried out by RAF Liberator aircraft on the 20 May 1945.
Practically a month later, no effort has been made to clear away the
smashed rolling-stock or re-lay the permanent way. Bomb craters have
filled with water.
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/SUK13865/
พร้อมคำบรรยายรูปดังต่อไปนี้
Chumphon,
Thailand. C. 1945-02. To attack Chumphon, Japanese supply and
transhipment centre on the east coast of the Kra Isthmus, RAF
Liberator aircraft and US Army Air Force B-24 aircraft of the
Strategic Air Force, Eastern Air Command, flew their longest bombing
raid. Chumphon railway station and transhipment sheds were left a
mass of flames, and an important bridge on the Bangkok-Singapore
railway received a direct hit. Large numbers of railway trucks were
destroyed. The enemy have been bringing up supplies by small coaster
vessels through the Gulf of Siam, off-loading at an anchorage near
Chumphon, thus relieving the already overburdened Bangkok-Singapore
railway.
รูปที่
๑๔ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟสายใต้
ณ จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑๙
เดือนมีนาคม ค.ศ.
๑๙๔๕
(พ.ศ.
๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/P02491.314/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Chumphon,
Thailand. 19 March 1945. Aerial view from a RAF Liberator bomber
aircraft during a massed attack on Chumphon, a key point in the
Japanese communications system between Malayan bases and enemy forces
in Burma and Thailand, shows fires burning brightly and rolling stock
scattered in crazy patterns by the force of the 1,000lb bombs. Many
RAAF members serving in the Burma theatre, took part in the attack.
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/SUK13886/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Chumphon,
Thailand. C. 1945-03. RAF Liberator aircraft and US Army Air Force
B-24 aircraft of Strategic Air Force, Eastern Air Command, carried
out a highly successful long-distance attack on Japanese rail yards
at Chumphon, on the Kra Isthmus in the Malay Peninsula. This
photograph, taken from an RAF Liberator during the attack, shows the
devastation caused among the rail facilities. Coaches and trucks have
been wrecked, lines torn up and administrative buildings gutted.
รูปที่ ๑๖ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟสายใต้ ณ จังหวัดชุมพร ในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘) รูปนี้เป็นส่วนขยายของรูปที่ ๑๕
รูปที่ ๑๖ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟสายใต้ ณ จังหวัดชุมพร ในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘) รูปนี้เป็นส่วนขยายของรูปที่ ๑๕
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/P02491.304/
พร้อมคำบรรยายรูปดังต่อไปนี้
Chumphon,
Thailand. c. March 1945. RAF Liberator and US Army Air Force B-24
aircraft of Strategic Air Force, Eastern Air Command carried out a
long distance and highly successful attack on Japanese marshalling
yards at Chumphon on the Kra Isthmus on the Malay peninsula. Aerial
view from an RAF Liberator aircraft during the raid shows the
tremendous devastation caused among railway facilities. Coaches have
been thrown and wrecked, railway lines torn apart and administrative
buildings completely gutted.
รูปที่ ๑๗ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟสายใต้ ณ จังหวัดชุมพร ในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘)
รูปที่ ๑๗ การทิ้งระเบิดเส้นทางรถไฟสายใต้ ณ จังหวัดชุมพร ในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ (พ.ศ. ๒๔๘๘)
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/P02491.305/
พร้อมคำบรรยายภาพดังต่อไปนี้
Chumphon,
Thailand. c. March 1945. RAF Liberator bomber aircraft in which flew
many RAAF aircrews and US Army Air Force B-24 aircraft of Strategic
Air Force, Eastern Air Command carried out a long distance and highly
successful attack on Japanese marshalling yards at Chumphon on the
Kra Isthmus on the Malay peninsula. A front on view from an RAF
Liberator aircraft during the raid shows the Chumphon railway bridge
on the Bangkok-Singapore railway line, attacked for the third time in
a week.
รูปจาก
http://www.awm.gov.au/view/collection/item/P02491.306/
พร้อมคำบรรยายรูปดังต่อไปนี้
Chumphon,
Thailand. c. March 1945. RAF Liberator bomber aircraft in which flew
many RAAF aircrews and US Army Air Force B-24 aircraft of Strategic
Air Force, Eastern Air Command, carried out a long distance and
highly successful attack on Japanese marshalling yards at Chumphon on
the Kra Isthmus on the Malay peninsula. The Chumphon railway bridge
on the Bangkok-Singapore railway which was attacked for the third
time in a week by heavy bombers, is a vital supply link to the enemy.
The low-level view from one of the RAF attacking Liberators
illustrates the damage not only to the bridge itself but to the
bridgehead and railway lines leading up to it.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น