MO Memoir ฉบับนี้เป็นตอนต่อเนื่องจาก MO Memoir 2551 Nov 11 Tue : ทอดไข่เจียวให้อร่อยต้องใช้น้ำมันหมู จะว่าไปแล้วเนื้อหาในฉบับนี้ (และฉบับก่อนหน้า) ผมเคยโพสไว้ในบอร์ดของเพื่อนร่วมรุ่นโรงเรียนตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ๒๕๔๗ (ตอนนี้บอร์ดล่มไปแล้ว) ก็เลยคิดว่าได้เวลาเอามาปัดฝุ่นใหม่และเรียบเรียงใหม่อีกครั้งหนึ่ง
น้ำมันที่ใช้ประกอบอาหารในบ้านเราแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
1. น้ำมันที่ได้จากสัตว์ (เราเห็นแต่น้ำมันหมู มีใครเคยเจออย่างอื่นไหม) และ
2. น้ำมันพืช (มะพร้าว, ถั่วลิสง, ถั่วเหลือง, ปาล์ม, รำข้าว, ทานตะวัน, ข้าวโพด ฯลฯ)
แต่เดิมนั้นคนไทยเราใช้น้ำมันหมูในการทำอาหารเป็นหลัก เพราะน้ำมันพืชอาจให้กลิ่นแทรกเข้ามาซึ่งทำให้อาหารเสียรสชาติ (ในสมัยแรกที่น้ำมันพืชยี่ห้อหนึ่งพยายามเจาะตลาด (ตอนนี้ก็ยังขายอยู่) จะโฆษณาว่า "ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น") แต่หลัง ๆ กระแสสุขภาพเข้ามาแรง ทำนองว่ากินน้ำมันที่เป็นกรดไขมันอิ่มตัวแล้วจะมีปัญหาเรื่องคลอเรสโตรอล ทำให้คนหันมากินน้ำมันพืชเป็นหลัก
ที่น่าแปลกคือแต่ก่อนสมัยที่คนไทยกินน้ำมันหมูเป็นหลัก โรคหัวใจกลับไม่ใช่ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของคนในประเทศ แต่ช่วงที่กินน้ำมันพืชเป็นหลัก จำนวนคนมีปัญหาเรื่องโรคหัวใจกลับเพิ่มมากขึ้น (ในบางวงการเขาดูว่าประเทศไหนเป็นประเทศ "ด้อยพัฒนา" (เรียกให้ดีหน่อยก็"กำลังพัฒนา") หรือ"พัฒนาแล้ว" โดยดูจากโรคหลักที่ทำให้ประชากรเสียชีวิต ประเทศ"ด้อยพัฒนา" มักมีปัญหาเรื่องโรคติดต่อ เช่นอหิวาต์ วัณโรค โรคระบบทางเดินอาหาร ฯลฯ ส่วนประเทศ"พัฒนา" แล้วมักมีปัญหาเรื่อโรคไม่ติดต่อ เช่น หัวใจ ความดัน มะเร็ง ฯลฯ)
ที่นี้น้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์ โมเลกุลมันประกอบด้วยอะไรบ้าง หลัก ๆ มี 2 ส่วนคือ
1. กลีเซอรอล (glycerol) เป็นแอลกอฮอล์ C3 มีหมู่ -OH (hydroxyl group) 3 หมู่ และ
2. กรดไขมัน (carboxylic acid ที่เป็นโซ่ตรงยาว ไม่มีกิ่งก้าน)
น้ำมันพืช/สัตว์เป็นสารประกอบเอสเทอร์ของกลีเซอรอลและกรดไขมัน สิ่งที่ทำให้น้ำมันแตกต่างกันก็คือชนิดของกรดไขมันนั่นเอง
บางชนิดก็เป็นโมเลกุลสั้น ๆ (คาร์บอน 10-12 อะตอม)
บางชนิดก็เป็นโมเลกุลยาว ๆ (คาร์บอน 20-22 อะตอม - จำนวนอะตอมคาร์บอนเป็นเลขคู่เสมอ)
แต่ตัวที่คนสนใจ/รู้จัก(ชื่อ)กันมากกว่าก็คือ "ความไม่อิ่มตัว" ของน้ำมัน
แล้ว "ความไม่อิ่มตัว" ของน้ำมันคืออะไร
"ความไม่อิ่มตัว" ของน้ำมันในที่นี้คือพันธะ "คู่" ระหว่างอะตอมคาร์บอนของสายโซ่กรดไขมัน ยิ่งมีมากก็เป็นกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวสูงมากขึ้น (ลองดูข้างขวดน้ำมันพืช บางยี่ห้อจะระบุว่าเป็นชนิดไม่อิ่มตัว 1 ตำแหน่งว่ามีกี่เปอร์เซนต์ และที่ไม่อิ่มตัวมากกว่า 1 ตำแหน่งมีกี่เปอร์เซนต์)
แล้วความไม่อิ่มตัวของน้ำมันมีผลอย่างไรต่อน้ำมัน
อย่างแรกคือจุดหลอมเหลวของน้ำมัน น้ำมันที่มีความไม่อิ่มตัวสูงจะมีจุดหลอมเหลวต่ำกว่าพวกที่มีความอิ่มตัวสูง เช่นเวลาอากาศเย็น น้ำมันหมูอาจเป็นไขแข็งตัวได้ แต่น้ำมันพืชจะขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำมัน (สาเหตุเป็นเพราะ รูปร่างโมเลกุล... กลับไปดูฉบับก่อนหน้านะ)
ถ้าเราเอาน้ำมันพืชแต่ละชนิดมาแช่เย็น (น้ำมันที่พึ่งสกัดได้) จะมีส่วนที่เป็นไขแยกออกมา ส่วนนั้นคือส่วนที่เป็นกรดไขมันอิ่มตัว ซึ่งน้ำมันพืชแต่ละชนิดจะมีปริมาณส่วนนี้แตกต่างกัน
เช่น "น้ำมันถั่วเหลือง" จะมีส่วนที่แช่เย็นแล้วเป็นไขแข็งตัวไม่มากนัก ก่อนนำมาบรรจุขวด ทางโรงงานผู้ผลิตก็จะทำนำเอาน้ำมันที่สกัดได้ไปแช่เย็นก่อนเพื่อแยกเอาส่วนที่เป็นไขออกมา จากนั้นจึงนำส่วนที่ไม่แข็งตัวมาบรรจุขวดขาย
ทีนี้ถ้าเราซื้อน้ำมันที่บรรจุขวดขายจากร้าน แล้วเอามาแช่ตู้เย็น มันก็ไม่เป็นไขหรอก ซึ่งเป็นเรื่องปรกติ (แล้วเอามาโฆษณาทำไป ? ท่านคิดอย่างไร? มีใครบ้างเก็บน้ำมันพืชในช่องแช่แข็งในตู้เย็น
เคยถามคนที่ทำงานที่บริษัทนี้ (มาเรียนปริญญาโทภาคค่ำที่ภาค) เขาก็ไม่ตอบ ได้แต่ยิ้ม ส่วนนิสิตอีกคนที่มาจากบริษัทคู่แข่ง ก็ได้แต่นั่งหัวเราะ
ส่วนน้ำมันปาล์มนั้นถ้าเอาไปแช่เย็นจะมีส่วนที่เป็นไขมากกว่า ขืนเอาส่วนนี้ทิ้งออกไปจะทำให้ต้นทุนน้ำมันแพงขึ้นแน่ (เพราะมันมีมากกว่าน้ำมันถั่วเหลือง)
จุดขายของความไม่อิ่มตัวคือ "สุขภาพ"
มีผู้กล่าวถึงผลงานวิจัยหลายอย่าง (ของใครเอ่ย? แล้วต้นตอมาจากไหน?) ที่บอกว่าการบริโภคน้ำมันที่ไม่อิ่มตัวสูงจะมีอันตรายน้อยกว่าการบริโภคน้ำมันที่มีความอิ่มตัวสูงกว่า เหตุผลก็เกี่ยวกับไขมันในเลือด กับปัญหาโรคหัวใจ
แต่ว่าทำไมพอมีปัญหาเกี่ยวกับไขมันในเลือด พวกมีคลอเรสตอรอลสูง หมอก็ให้งด/ลดของทอดของมัน โดยไม่สนด้วยว่ามันใช้น้ำมันอะไรทำ และต้องคุมของหวานด้วย ? ก็ของหวานเป็นคาร์โบไฮเดรต สูตรโมเลกุลคนละเรื่องกับไขมันเลย แล้วทำไมถึงถูกดึงเข้าไปเกี่ยวด้วย เป็นเพราะว่าร่างกายสามารถเปลี่ยนอาหารส่วนเกินไปเก็บไว้ในรูปของไขมันใช่ไหมล่ะ
นอกจากนี้โครงสร้างโมเลกุลของน้ำมันพืชก็ไม่เหมือนกับโครงสร้างโมเลกุลของคลอเรสตอรอล ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกหรอกว่าทำไมข้างขวดน้ำมันพืชถึงเขียนไว้ว่าไม่มีคลอเรสตอรอล (เขาบอกความจริงแก่คนซื้อว่าผลิตภัณฑ์ของเขามันไม่มีคลอเรสตอรอล แต่ก็ไม่ได้บอกว่ากินเข้าไปแล้วร่างกายสามารถเปลี่ยนไปเป็นคลอเรสตอรอลได้นะ)
น้ำมันพืชตัวหนึ่งที่ได้ผลประโยชน์เต็ม ๆ จากกระแสนี้คือ "ถั่วเหลือง"
ความคิดเห็นในย่อหน้าข้างล่างนี้ได้มาจากการพบปะกับผู้ที่ร่วมประชุมที่มาเลเซียซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตน้ำมันปาล์มรายใหญ่สุดของโลกที่ผมได้เข้าไปร่วมประชุมมาเมื่อ ๖-๗ ปีที่แล้ว ลองอ่านแล้วพิจารณาเอาเองก็แล้วกัน ส่วนที่อยู่ในวงเล็บคือส่วนที่ขยายความ/ยกตัวอย่างเพิ่มเติมเข้าไป
"ประเทศผู้ผลิตถั่วเหลืองรายใหญ่ของโลกคือสหรัฐอเมริกา เมื่อผลิตออกมาแล้วก็ต้องหาตลาด (มี supply ก็ต้องทำให้มี demand ให้ได้ ไม่เช่นนั้นจะไปขายใคร) วิธีการหนึ่งคือใช้งานวิจัยทางการแพทย์หาจุดเด่นของผลิตภัณฑ์มาเป็นจุดขายโดยไม่เปิดเผยจุดด้อยหรือข้อเสีย (ลองนึกถึงไวน์หรือแอปเปิลดูก็ได้ ฝรั่งเขาไม่ได้มีผลไม้มากมายหลากหลายให้วิจัยเหมือนบ้านเรา มีแอปเปิลเป็นตัวหลัก ก็เลยทำวิจัยได้แก่แอปเปิล แล้วมาปลุกกระแสให้คนซื้อกินเพือสุขภาพ) แต่ในบางครั้งถ้าเราถามว่าเงินที่ได้จากการทำวิจัยนันใครเป็นคนจ่าย จะเห็นอีกภาพหนึ่ง
ถ้าถามทางมาเลเซีย เขาก็บอกว่ากินน้ำมันปาล์มก็ช่วยลดคลอเรสเตอรอลในเลือดเหมือนกัน แต่ถ้ามีหมออเมริกาพูดกับหมอมาเลเซียพูด คุณคิดว่าคนส่วนใหญ่เชื่อใคร"
ผมเองเคยไปเดินตามห้างในมาเลเซีย พบว่าคนที่นั่นบริโภคน้ำมันปาล์มเป็นหลัก ไม่ค่อยมีน้ำมันถั่วเหลืองวางขาย ส่วนในประเทศไทยน้ำมันถั่วเหลืองประสบความสำเร็จมาก ชนิดที่ว่าต้องนำเข้าถั่วเหลืองจากต่างประเทศ (เดาซิว่าประเทศไหน บอกใบ้นิดนึง ประเทศที่เก่งด้านพืชตัดต่อพันธุกรรม และถั่วเหลืองก็เป็นตัวหนึ่งที่ถูกตัดต่อด้วย ช่วงหนึ่งเรามากลัวมะละกอ GMO กลัวฝ้าย GMO แต่ไม่มีใครกล่าวถึงน้ำมันถั่วเหลืองเลย) มาผลิตน้ำมันถั่วเหลืองให้คนไทยกิน เพราะกำลังผลิตในประเทศไม่เพียงพอต่อความต้องการ แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าประเทศไทยไม่สามารถผลิตพืชให้น้ำมันพืชได้เพียงพอสำหรับความต้องการในประเทศนะ (มีทั้งรำข้าว, ปาล์ม, ทานตะวัน, ถั่วเหลือง, ฝ้าย, นุ่น) เพียงแต่ว่าเราต้องการอุดหนุนใครมากกว่า
แต่อีกเหตุผลหนึ่งที่เรานำเข้าถั่วเหลือง (อาจเป็นเหตุผลหลักด้วย) คือเพื่อผลิตเป็นอาหารสัตว์ กากถั่วเหลืองที่เหลือจากการสกัดน้ำมันออกแล้วเป็นอาหารสัตว์ที่มีโปรตีนสูง ราคาขายดีกว่าน้ำมันถั่วเหลืองอีก (ประเภทที่ว่าเอาของที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพไปให้คนกิน ส่วนของที่มีประโยชน์เอาไปให้สัตว์กินก่อน แล้วเราค่อยกินสัตว์อีกที)
เมื่อราว ๆ ช่วงปีพ.ศ. ๒๕๓๗-๒๕๔๐ (จำปีที่แน่นอนไม่ได้ จำได้แต่ว่าน่าจะอยู่ในช่วงเวลานี้) มีการให้ข้อมูลที่เป็นความจริงออกสู่สาธารณะชนซึ่งส่งผลต่อพฤติการรมการบริโภคน้ำมันพืชของคนไทย ข้อมูลดังกล่าวคือ
1. ไวนิลคลอไรด์ เป็นสารก่อมะเร็ง (ตัวนี้เป็นแก๊สนะ)
2. ขวดพีวีซี (PVC) ที่ใช้บรรจุน้ำมันพืชทำจากไวนิลคลอไรด์
3. ไวนิลคลอไรด์ละลายได้ในน้ำมันพืช
ถ้าถามว่า 3 ข้อข้างต้นเป็นจริงไหม คำตอบคือ "จริง"
แต่ทีนี้คนดันเอา 3 ข้อมายำรวมกันแล้วสรุปว่า "ถ้ากินน้ำมันพืชยี่ห้อที่บรรจุขวดพีวีซีจะทำให้เป็นมะเร็ง" ซึ่งข้อสรุปข้อนี้มันไม่ถูก เพราะพอเป็นขวดพีวีซีนั้น มันไม่เหลือไวนิลคลอไรด์แล้ว
ผลที่ตามมาคือคนหันไปซื้อน้ำมันยี่ห้อที่บรรจุขวดเพ็ท (PET - Polyethylene terephthalate) ซึ่งเป็นพลาสติกที่แพงกว่า PVC และมีความใสมากกว่า
ในบางงานเช่นการบรรจุน้ำอัดลมจะใช้ขวดนี้เพราะมันกันแก๊สซึมได้ ส่วนพวกน้ำดื่มมันไม่จำเป็น แต่ที่ใช้กันเพราะมันทำให้บรรจุภัณฑ์ดูสวยดี
แต่เมื่อกระแสผู้บริโภคเรียกร้อง ผลที่ตามมาคือเราต้องจ่ายแพงขึ้นเพราะต้องทิ้งขยะที่แพงมากขึ้น (มีใครล้างขวดน้ำมันพืชแล้วเอามาใช้ประโยชน์อย่างอื่นไหม) เพราะผู้ผลิตรายอื่นต้องเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์จากเดิมที่เป็น PVC มาเป็นขวด PET เพื่อรักษาส่วนแบ่งทางตลาดไว้ เหมือนปลากระป๋องฝาดึงกับฝาธรรมดา ยี่ห้อเดียวกันแท้ ๆ ถ้าต้องการฝาดึงต้องจ่ายเพิ่มทั้ง ๆ ที่ได้ของข้างในเท่ากัน หรือในกรณีของน้ำมันที่สมัยหนึ่งปล่อยให้คนเชื่อกันว่าน้ำมันยิ่งออกเทนสูง ทำให้เครื่องยิ่งแรง เลยมีการปั่นค่าออกเทนไปจนถึง 97, 98 สุดท้ายต้องกลับมารณรงค์ให้ใช้น้ำมันถูกประเภท เอาไว้วันหลังจะเล่าให้ฟังใหม่
บันทึกช่วยจำของกลุ่มวิจัยตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะออกไซด์ บันทึกความจำของวิศวกรเคมีผู้ลงมือปฏิบัติ (mo.memoir@gmail.com)
วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2552
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ตัวเร่งปฏิกิริยาและการทดสอบ
- การกำจัดสีเมทิลีนบลู
- การคำนวณพื้นที่ผิวแบบ Single point BET
- การคำนวณพื้นที่ผิวแบบ Single point BET ตอนที่ ๒ ผลกระทบจากความเข้มข้นไนโตรเจนที่ใช้
- การจำแนกตำแหน่งที่เป็นกรด Brönsted และ Lewis บนพื้นผิวของแข็งด้วยเทคนิค Infrared spectroscopy และ Adsorbed probe molecules
- การจำแนกตำแหน่งที่เป็นเบส Brönsted และ Lewis บนพื้นผิวของแข็งด้วยเทคนิค Infrared spectroscopy และ Adsorbed probe molecules
- การใช้ข้อต่อสามทางผสมแก๊ส
- การใช้ Avicel PH-101 เป็น catalyst support
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๑ ขั้นตอนของการเกิดปฏิกิริยาบนตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๒ การดูดซับบนพื้นผิวของแข็ง
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๓ แบบจำลองไอโซเทอมการดูดซับของ Freundlich
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๔ แบบจำลองไอโซเทอมการดูดซับของ Langmuir
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๕ แบบจำลองไอโซเทอมการดูดซับของ Temkin
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๖ แบบจำลองไอโซเทอมการดูดซับของ BET
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๗ ตัวอย่างไอโซเทอมการดูดซับของ BET
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๘ ตัวอย่างไอโซเทอมการดูดซับของ BET (๒)
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๙ ตัวอย่างไอโซเทอมการดูดซับของ BET (๓)
- การเตรียมตัวอย่างตัวเร่งปฏิกิริยาแบบผงให้เป็นแผ่นบาง
- การทดสอบตัวเร่งปฏิกิริยา - ผลแตกต่างหรือไม่แตกต่าง
- การทำปฏิกิริยา ๓ เฟสใน stirred reactor
- การบรรจุ inert material ใน fixed-bed
- การปรับ WHSV
- การปั่นกวนของแข็งให้แขวนลอยในของเหลว ตอนที่ ๑ ผลของความหนาแน่นที่แตกต่าง
- การปั่นกวนของแข็งให้แขวนลอยในของเหลว ตอนที่ ๒ ขนาดของ magnetic bar กับเส้นผ่านศูนย์กลางภาชนะ
- การปั่นกวนของแข็งให้แขวนลอยในของเหลว ตอนที่ ๓ ผลของรูปร่างภาชนะ
- การผสมแก๊สอัตราการไหลต่ำเข้ากับแก๊สอัตราการไหลสูง
- การระบุชนิดโลหะออกไซด์
- การลาก smooth line เชื่อมจุด
- การเลือกค่า WHSV (Weight Hourly Space Velocity) สำหรับการทดลอง
- การวัดความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง (อีกครั้ง)
- การวัดปริมาณตำแหน่งที่เป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็งด้วย GC
- การวัดปริมาณตำแหน่งที่เป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็งด้วย GC (๒)
- การวัดพื้นที่ผิว BET
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๑)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๒)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๓)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๔)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๕)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๖)
- การไหลผ่าน Straightening vane และโมโนลิท (Monolith)
- เก็บตกจากการประชุมวิชาการ ๒๕๕๗ ตอนที่ ๑
- เก็บตกจากการประชุมวิชาการ ๒๕๕๗ ตอนที่ ๒
- ข้อควรระวังเมื่อใช้ออกซิเจนความเข้มข้นสูง
- ข้อพึงระวังในการแปลผลการทดลอง
- ค่า signal to noise ratio ที่ต่ำที่สุด
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๑ Volcano principle
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๒ แบบจำลอง Langmuir
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๓ แบบจำลอง Langmuir-Hinshelwood
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๔ แบบจำลอง Eley-Rideal
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๕ แบบจำลอง REDOX
- ตอบคำถามเรื่องการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา
- ตัวเลขมันสวย แต่เชื่อไม่ได้
- ตัวเลขไม่ได้ผิดหรอก คุณเข้าใจนิยามไม่สมบูรณ์ต่างหาก
- ตัวไหนดีกว่ากัน (Catalyst)
- แต่ละจุดควรต่างกันเท่าใด
- ท่อแก๊สระบบ acetylene hydrogenation
- น้ำหนักหายได้อย่างไร
- ปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจนและการแทนที่ไฮโดรเจนของอะเซทิลีน
- ปฏิกิริยาอันดับ 1 หรือปฏิกิริยาอันดับ 2
- ปฏิกิริยาเอกพันธ์และปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ในเบดนิ่ง
- ปั๊มสูบไนโตรเจนเหลวจากถังเก็บ
- ผลของแก๊สเฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยา
- เผาในเตาแบบไหนดี (Calcination)
- พลังงานกระตุ้นกับปฏิกิริยาคายความร้อนในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง
- เมื่อแก๊สรั่วที่ rotameter
- เมื่อพีคออกซิเจนของระบบ DeNOx หายไป
- เมื่อเส้น Desorption isotherm ต่ำกว่าเส้น Adsorption isotherm
- เมื่อ base line เครื่อง chemisorb ไม่นิ่ง
- เมื่อ Mass Flow Controller คุมการไหลไม่ได้
- เรื่องของสุญญากาศกับ XPS
- สแกนกี่รอบดี
- สมดุลความร้อนรอบ Laboratory scale fixed-bed reactor
- สรุปการประชุมวันพฤหัสบดีที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๓
- เส้น Cu Kα มี ๒ เส้น
- เห็นอะไรไม่สมเหตุสมผลไหมครับ
- อย่าลืมดูแกน Y
- อย่าให้ค่า R-squared (Coefficient of Determination) หลอกคุณได้
- อุณหภูมิกับการไหลของแก๊สผ่าน fixed-bed
- อุณหภูมิและการดูดซับ
- BET Adsorption-Desorption Isotherm Type I และ Type IV
- ChemiSorb 2750 : การเตรียมตัวอย่างเพื่อการวัดพื้นที่ผิว BET
- ChemiSorb 2750 : การวัดพื้นที่ผิวแบบ Single point BET
- ChemiSorb 2750 : ผลของอัตราการไหลต่อความแรงสัญญาณ
- Distribution functions
- Electron Spin Resonance (ESR)
- GHSV หรือ WHSV
- Ion-induced reduction ขณะทำการวิเคราะห์ด้วย XPS
- MO ตอบคำถาม การทดลอง gas phase reaction ใน fixed-bed
- MO ตอบคำถาม การวัดความเป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็ง
- Monolayer หรือความหนาเพียงชั้นอะตอมเดียว
- NH3-TPD - การลาก base line
- NH3-TPD - การลาก base line (๒)
- NH3-TPD - การไล่น้ำและการวาดกราฟข้อมูล
- NH3-TPD ตอน ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ ๑
- NH3-TPD ตอน ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ ๒
- Physisorption isotherms Type I และ Type IV
- Scherrer's equation
- Scherrer's equation (ตอนที่ 2)
- Scherrer's equation (ตอนที่ ๓)
- Scherrer's equation (ตอนที่ ๔)
- Supported metal catalyst และ Supported metal oxide catalyst
- Temperature programmed reduction ด้วยไฮโดรเจน (H2-TPR)
- Temperature programmed reduction ด้วยไฮโดรเจน (H2-TPR) ภาค ๒
- UV-Vis - peak fitting
- XPS ตอน การแยกพีค Mo และ W
- XPS ตอน จำนวนรอบการสแกน
- XRD - peak fitting
๒๑๐๕๔๔๕ พื้นฐานตัวเร่งปฏิกิริยา
- บทที่ ๑๐ การบำบัดแก๊สไอเสียจากแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่
- บทที่ ๑๑ การบำบัดแก๊สไอเสียจากแหล่งกำเนิดอยู่กับที่
- บทที่ ๑๒ การบำบัดสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย
- บทที่ ๑ บทนำ
- บทที่ ๒ การดูดซับบนพื้นผิวของแข็ง
- บทที่ ๓ การดูดซับบนพื้นผิวโลหะ
- บทที่ ๔ การดูดซับบนพื้นผิวโลหะออกไซด์
- บทที่ ๕ จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยา
- บทที่ ๖ ตัวเร่งปฏิกิริยากรด-เบส
- บทที่ ๗ การวัดความเป็นกรด-เบสของพื้นผิวด้วยเทคนิคการดูดซับโมเลกุล
- บทที่ ๘ กระบวนการปรับสภาพปิโตรเลียม
- บทที่ ๙ กระบวนการออกซิไดซ์
คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมเคมี
- การแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์สามัญปัญหาเงื่อนไขค่าเริ่มต้นด้วยระเบียบวิธี Bogacki-Shampine และ Predictor-Evaluator-Corrector-Evaluator (PECE)
- การแก้ปัญหาสมการอนุพันธ์สามัญ ด้วย ODE solvers ของ GNU Octave ตอนที่ ๑
- การแก้ปัญหาสมการอนุพันธ์สามัญ ด้วย ODE solvers ของ GNU Octave ตอนที่ ๒
- การแก้ปัญหาสมการอนุพันธ์สามัญ ด้วย ODE solvers ของ GNU Octave ตอนที่ ๓
- การแก้สมการเชิงอนุพันธ์สามัญด้วยการใช้ Integrating factor
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑๐)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑๑)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑๒)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑๓)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๒)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๓)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๔)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๕)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๖)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๗)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๘)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๙)
- การคำนวณค่าฟังก์ชันพหุนาม
- การปรับเรียบ (Smoothing) ข้อมูล (ตอนที่ ๑)
- การปรับเรียบ (Smoothing) ข้อมูล (ตอนที่ ๒)
- การปรับเรียบ (Smoothing) ข้อมูล (ตอนที่ ๓)
- การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร x และ y
- ข้อพึงระวังในการใช้ฟังก์ชันพหุนามในการประมาณค่าในช่วง
- ข้อพึงระวังในการใช้ฟังก์ชันพหุนามในการประมาณค่าในช่วง (๒)
- ข้อพึงระวังในการใช้ฟังก์ชันพหุนามในการประมาณค่าในช่วง (๒) (pdf)
- ข้อพึงระวังในการใช้ฟังก์ชันพหุนามในการประมาณค่าในช่วง (๓)
- ข้อสอบเก่าชุดที่ ๑
- ข้อสอบเก่าชุดที่ ๒
- ค่าคลาดเคลื่อน (error)
- จำนวนที่น้อยที่สุดที่เมื่อบวกกับ 1 แล้วได้ผลลัพธ์ไม่ใช่ 1
- ใช่ว่าคอมพิวเตอร์จะคิดเลขถูกเสมอไป
- ตัวเลขที่เท่ากันแต่ไม่เท่ากัน
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วยระเบียบวิธีนิวตัน-ราฟสัน
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วยระเบียบวิธี Müller และ Inverse quadratic interpolation
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วยระเบียบวิธี successive iteration
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วยระเบียบวิธี successive iteration (pdf)
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วย Function fzero ของ GNU Octave
- ตัวอย่างการคำนวณหาพื้นที่ใต้กราฟ ด้วยระเบียบวิธี Gaussian quadrature
- ตัวอย่างการคำนวณหาพื้นที่ใต้กราฟ ด้วยระเบียบวิธี Gaussian quadrature (pdf)
- ตัวอย่างผลของรูปแบบสมการต่อคำตอบของ ODE-IVP
- ตัวอย่างเพิ่มเติมบทที่ ๑
- ตัวอย่างเพิ่มเติมบทที่ ๒
- ตัวอย่างเพิ่มเติมบทที่ ๓
- ตัวอย่างเพิ่มเติมบทที่ ๔
- ทบทวนเรื่องการคูณเมทริกซ์
- ทบทวนเรื่อง Taylor's series
- ทศนิยมลงท้ายด้วยเลข 5 จะปัดขึ้นหรือปัดลง
- บทที่ ๑ การคำนวณตัวเลขในระบบทศนิยม
- บทที่ ๒ การแก้ปัญหาระบบสมการพีชคณิตเชิงเส้น
- บทที่ ๓ การแก้ปัญหาระบบสมการพีชคณิตไม่เชิงเส้น
- บทที่ ๔ การประมาณค่าในช่วง
- บทที่ ๕ การหาค่าอนุพันธ์
- บทที่ ๖ การหาค่าอินทิกรัล
- บทที่ ๗ การแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการปัญหาเงื่อนไขค่าเริ่มต้น
- บทที่ ๘ การแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการปัญหาเงื่อนไขค่าขอบเขต
- บทที่ ๙ การแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย
- ปฏิกิริยาคายความร้อนใน CSTR (ตอนที่ ๑)
- ปฏิกิริยาคายความร้อนใน CSTR (ตอนที่ ๒)
- เปรียบเทียบการแก้ปัญหาสมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วย solver ของ GNU Octave
- เปรียบเทียบการแก้ Stiff equation ด้วยระเบียบวิธี Runge-Kutta และ Adam-Bashforth
- เปรียบเทียบระเบียบวิธี Runge-Kutta
- เปรียบเทียบ Gauss elimination ที่มีและไม่มีการทำ Pivoting
- เปรียบเทียบ Gauss elimination ที่มีและไม่มีการทำ Pivoting (Spreadsheet)
- ฟังก์ชันแกมมา (Gamma function) และ ฟังก์ชันเบสเซล (Bessel function)
- เมื่อ 1 ไม่เท่ากับ 0.1 x 10
- ระเบียบวิธี Implicit Euler และ Crank-Nicholson กับ Stiff equation
- เลขฐาน ๑๐ เลขฐาน ๒ จำนวนเต็ม จำนวนจริง
- Distribution functions
- LU decomposition ร่วมกับ Iterative improvement
- LU decomposition ร่วมกับ Iterative improvement (pdf)
- LU decomposition ร่วมกับ Iterative improvement (Spreadsheet)
- Machine precision กับ Machine accuracy
เคมีสำหรับวิศวกรเคมี
- กรด-เบส : อ่อน-แก่
- กรด-เบส : อะไรควรอยู่ในบิวเรต
- กราฟการไทเทรตกรดกำมะถัน (H2SO4)
- กราฟการไทเทรตกรดกำมะถัน (H2SO4) ตอนที่ ๒
- กราฟการไทเทรตกรดที่ให้โปรตอนได้ ๒ ตัว
- กราฟการไทเทรตกรดที่ให้โปรตอนได้ ๓ ตัว
- กราฟการไทเทรตกรดไฮโปคลอรัส (HOCl)
- กราฟอุณหภูมิการกลั่นของน้ำมันเบนซิน (Gasoline distillation curve)
- กลิ่นกับอันตรายของสารเคมี
- การกำจัดสีเมทิลีนบลู
- การเกิดปฏิกิริยาเคมี
- การเจือจางไฮโดรคาร์บอนในน้ำ
- การใช้ pH probe
- การใช้ Tetraethyl lead นอกเหนือไปจากการเพิ่มเลขออกเทน
- การดูดกลืนคลื่นแสงของแก้ว Pyrex และ Duran
- การดูดกลืนแสงสีแดง
- การเตรียมสารละลายด้วยขวดวัดปริมาตร
- การเตรียมหมู่เอมีนและปฏิกิริยาของหมู่เอมีน (การสังเคราะห์ฟีนิลบิวตาโซน)
- การทำน้ำให้บริสุทธิ์สำหรับห้องปฏิบัติการ
- การทำปฏิกิริยาของโพรพิลีนออกไซด์ (1,2-Propylene oxide) ตอนที่ ๑
- การทำปฏิกิริยาของโพรพิลีนออกไซด์ (1,2-Propylene oxide) ตอนที่ ๒
- การทำปฏิกิริยาของหมู่ Epoxide ในโครงสร้าง Graphene oxide
- การทำปฏิกิริยาต่อเนื่องของผลิตภัณฑ์
- การเทของเหลวใส่บิวเรต
- การน๊อคของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน และสารเพิ่มเลขออกเทนของน้ำมัน
- การเปลี่ยนพลาสติกเป็นน้ำมัน
- การเปลี่ยนเอทานอล (Ethanol) ไปเป็นอะเซทัลดีไฮด์ (Acetaldehyde)
- การเรียกชื่อสารเคมี
- การลดการระเหยของของเหลว
- การละลายของแก๊สในเฮกเซน (Ethylene polymerisation)
- การละลายเข้าด้วยกันของโมเลกุลมีขั้ว-ไม่มีขั้ว
- การวัดความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง (อีกครั้ง)
- การวัดปริมาณ-ความแรงของตำแหน่งที่เป็นกรดบนพื้นผิว
- การวัดปริมาณตำแหน่งที่เป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็งด้วย GC
- การวัดปริมาตรของเหลว
- การหาความเข้มข้นสารละลายมาตรฐานกรด
- การหาจุดสมมูลของการไทเทรตจากกราฟการไทเทรต
- การอ่านผลการทดลองการไทเทรตกรด-เบส
- การอ่านผลการทดลองการไทเทรตกรด-เบส (ตอนที่ ๒)
- การอ่านผลการทดลองการไทเทรตกรด-เบส (ตอนที่ ๓)
- แก๊สมัสตาร์ดกับกลิ่นทุเรียน
- ข้อควรระวังเมื่อใช้ออกซิเจนความเข้มข้นสูง
- คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับงานเคมีวิเคราะห์
- ความกระด้าง (Hardness) ของน้ำกับปริมาณของแข็งทั้งหมด ที่ละลายอยู่ (Total Dissolved Solid - TDS)
- ความดันกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
- ความเป็นกรดของหมู่ไฮดรอกซิล (Hydroxyl group) ตอนที่ ๑
- ความเป็นกรดของหมู่ไฮดรอกซิล (Hydroxyl group) ตอนที่ ๒
- ความเป็นกรดของอัลฟาไฮโดรเจนอะตอม (alpha-Hydrogen atom) ตอน กรดบาร์บิทูริก (Barbituric acid)
- ความเป็นกรดของอัลฟาไฮโดรเจนอะตอม (alpha-Hydrogen atoms)
- ความเป็นขั้วบวกของอะตอม C และการทำปฏิกิริยาของอีพิคลอโรไฮดริน (epichlorohydrin)
- ความเป็นไอออนิก (Percentage ionic character)
- ความสัมพันธ์ระหว่างสีกับชนิดและปริมาณธาตุ
- ความสำคัญของเคมีวิเคราะห์และเคมีอินทรีย์ในงานวิศวกรรมเคมี
- ความเห็นที่ไม่ลงรอยกับโดเรมี่
- ค้างที่ปลายปิเปตไม่เท่ากัน
- คำตอบของ Cubic equation of state
- จากกลีเซอรอล (glycerol) ไปเป็นอีพิคลอโรไฮดริน (epichlorohydrin)
- จากเบนซาลดีไฮด์ (Benzaldehyde) ไปเป็นกรดเบนซิลิก (Benzilic acid)
- จากโอเลฟินส์ถึงพอลิอีเทอร์ (From olefins to polyethers)
- จาก Acetone เป็น Pinacolone
- จาก Alkanes ไปเป็น Aramids
- จาก Aniline ไปเป็น Methyl orange
- จาก Benzene ไปเป็น Butter yellow
- จาก Hexane ไปเป็น Nylon
- จาก Toluene และ m-Xylene ไปเป็นยาชา
- ดำหรือขาว
- ตกค้างเพราะเปียกพื้นผิว
- ตอบคำถามแบบแทงกั๊ก
- ตอบคำถามให้ชัดเจนและครอบคลุม
- ตำราสอนการใช้ปิเปตเมื่อ ๓๓ ปีที่แล้ว
- ไตรเอทานอลเอมีน (Triethanolamine)
- ถ่านแก๊ส หินแก๊ส แก๊สก้อน
- ทอดไข่เจียวให้อร่อยต้องใช้น้ำมันหมู
- ทำไมน้ำกระด้างจึงมีฟอง
- ที่แขวนกล้วย
- เท่ากับเท่าไร
- โทลูอีน (Toluene)
- ไทโอนีลคลอไรด์ (Thionyl chloride)
- นานาสาระเคมีวิเคราะห์
- น้ำด่าง น้ำอัลคาไลน์ น้ำดื่ม
- น้ำดื่ม (คิดสักนิดก่อนกดแชร์ เรื่องที่ ๑๑)
- น้ำตาลทราย ซูคราโลส และยาคุมกำเนิดสำหรับผู้ชาย
- น้ำบริสุทธิ์ (Purified water)
- ไนโตรเจนเป็นแก๊สเฉื่อยหรือไม่
- บีกเกอร์ 250 ml
- แบบทดสอบก่อนเริ่มเรียนวิชาเคมีสำหรับนิสิตวิศวกรรมเคมี
- ปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจนและการแทนที่ไฮโดรเจนของอะเซทิลีน (Hydrogenation and replacement of acetylenic hydrogen)
- ปฏิกิริยาการผลิต Vinyl chloride
- ปฏิกิริยาการออกซิไดซ์
- ปฏิกิริยา alpha halogenation และการสังเคราะห์ tertiary amine
- ปฏิกิริยา ammoxidation หมู่เมทิลที่เกาะอยู่กับวงแหวนเบนซีน
- ปฏิกิริยา Benzene alkylation
- ปฏิกิริยา Dehydroxylation
- ปฏิกิริยา Electrophilic substitution ของ m-Xylene
- ปฏิกิริยา Nucleophilic substitution ของสารประกอบ Organic halides
- ประโยชน์ของ Nitric oxide ในทางการแพทย์
- ปัญหาการสร้าง calibration curve ของ ICP
- ปัญหาการหาความเข้มข้นสารละลายกรด
- ปัญหาของไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว
- โป้ง ชี้ กลาง นาง ก้อย
- ผลของค่าพีเอชต่อสีของสารละลายเปอร์แมงกาเนต
- ผลของอุณหภูมิต่อการแทนที่ตำแหน่งที่ 2 บนวงแหวนเบนซีน
- ฝึกงานภาคฤดูร้อน ๒๕๕๓ ตอนที่ ๑ อธิบายศัพท์
- พีคเหมือนกันก็แปลว่ามีหมู่ฟังก์ชันเหมือนกัน
- ฟลูออรีนหายไปไหน
- ฟอสฟอรัสออกซีคลอไรด์ (Phosphorus Oxychloride)
- ฟีนอล แอซีโทน แอสไพริน พาราเซตามอล สิว โรคหัวใจ และงู
- มุมมองที่ถูกจำกัด
- เมทานอลกับเจลล้างมือ
- เมื่อคิดในรูปของ ...
- เมื่อตำรายังพลาดได้ (Free radical polymerisation)
- เมื่อน้ำเพิ่มปริมาตรเองได้
- เมื่อหมู่คาร์บอนิล (carbonyl) ทำปฏิกิริยากันเอง
- รังสีเอ็กซ์
- เรื่องของสไตรีน (คิดสักนิดก่อนกด Share เรื่องที่ ๑)
- แลปการไทเทรตกรด-เบส ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา ๒๕๖๐
- ศัพท์เทคนิค-เคมีวิเคราะห์
- สรุปคำถาม-ตอบการสอบวันศุกร์ที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๒
- สีหายไม่ได้หมายความว่าสารหาย
- เสถียรภาพของอนุมูลอิสระ (๑)
- เสถียรภาพของอนุมูลอิสระ (๒)
- เสถียรภาพของอนุมูลอิสระ (๓)
- หมู่ทำให้เกิดสี (chromophore) และหมู่เร่งสี (auxochrome)
- หลอกด้วยข้อสอบเก่า
- อะเซทิลีน กลีเซอรีน และไทออล
- อะโรมาติก : การผลิต การใช้ประโยชน์ และปัญหา
- อัลคิลเอมีน (Alkyl amines) และ อัลคิลอัลคานอลเอมีน (Alkyl alkanolamines)
- อีเทอร์กับการเกิดสารประกอบเปอร์ออกไซด์
- อุณหภูมิ อัตราการเกิดปฏิกิริยา สมดุลเคมี
- เอา 2,2-dimethylbutane (neohexane) ไปทำอะไรดี
- เอาเบนซีนกับเอทานอลไปทำอะไรดี
- เอา isopentane ไปทำอะไรดี
- เอา maleic anhydride ไปทำอะไรดี
- เอา pentane ไปทำอะไรดี
- ไอโซเมอร์ (Isomer)
- ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์กับพอลิโพรพิลีน
- Acentric factor
- Aldol condensation กับ Cannizzaro reaction
- Aldol condesation ระหว่าง Benzaldehyde กับ Acetone
- A-Level เคมี ปี ๖๖ ข้อพอลิเอทิลีน
- Beilstein test กับเตาแก๊สที่บ้าน
- Benzaldehyde กับปฏิกิริยา Nitroaldol
- BOD และ COD
- BOD หรือ DO
- Carbocation - การเกิดและเสถียรภาพ
- Carbocation - การทำปฏิกิริยา
- Carbocation ตอนที่ ๓ การจำแนกประเภท-เสถียรภาพ
- Chloropicrin (Trichloronitromethane)
- Compressibility factor กับ Joule-Thomson effect
- Conjugated double bonds กับ Aromaticity
- Cubic centimetre กับ Specific gravity
- Dehydration, Esterification และ Friedle-Crafts Acylation
- Electrophilic addition ของอัลคีน
- Electrophilic addition ของอัลคีน (๒)
- Electrophilic addition ของ conjugated diene
- Electrophilic substitution ตำแหน่งที่ 1 บนวงแหวนเบนซีน
- Electrophilic substitution ตำแหน่งที่ 2 บนวงแหวนเบนซีน ตอน ผลของอุณหภูมิการทำปฏิกิริยา
- Electrophilic substitution ตำแหน่งที่ 3 บนวงแหวนเบนซีน
- Electrophilic substitution ตำแหน่งที่ 3 บนวงแหวนเบนซีน ตอน การสังเคราะห์ 2,4-Dinitrophenol
- Esterification of hydroxyl group
- Gibbs Free Energy กับการเกิดปฏิกิริยาและการดูดซับ
- Halogenation ของ alkane
- Halogenation ของ alkane (๒)
- HCl ก่อน ตามด้วย H2SO4 แล้วจึงเป็น HNO3
- I2 ในสารละลาย KI กับไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว
- Infrared spectrum interpretation
- Interferometer
- IR spectra ของโทลูอีน (Toluene) เอทิลเบนซีน (Ethylbenzene) โพรพิลเบนซีน (Propylbenzene) และคิวมีน (Cumene)
- IR spectra ของเบนซีน (Benzene) และไซลีน (Xylenes)
- IR spectra ของเพนทีน (Pentenes)
- Kjeldahl nitrogen determination method
- Malayan emergency, สงครามเวียดนาม, Seveso และหัวหิน
- MO ตอบคำถาม การวัดความเป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็ง
- Nucleophile กับ Electrophile
- PAT2 เคมี ปี ๖๕ ข้อการไทเทรตกรดเบส
- Peng-Robinson Equation of State
- Phenol, Ether และ Dioxin
- Phospharic acid กับ Anhydrous phosphoric acid และ Potassium dioxide
- pH Probe
- Picric acid (2,4,6-Trinitrophenol) และ Chloropicrin
- PV diagram กับการอัดแก๊ส
- Pyrophoric substance
- Reactions of hydroxyl group
- Reactions of hydroxyl group (ตอนที่ ๒)
- Redlich-Kwong Equation of State
- Redlich-Kwong Equation of State (ตอนที่ ๒)
- Soave-Redlich-Kwong Equation of State
- Standard x-ray powder diffraction pattern ของ TiO2
- Sulphur monochloride และ Sulphur dichloride
- Thermal cracking - Thermal decomposition
- Thiols, Thioethers และ Dimethyl thioether
- Van der Waals' Equation of State
- Vulcanisation
ประสบการณ์ Gas chromatograph/Chromatogram
- 6 Port sampling valve
- กระดาษความร้อน (thermal paper) มี ๒ หน้า
- การแก้ปัญหา packing ในคอลัมน์ GC อัดตัวแน่น
- การฉีดแก๊สเข้า GC ด้วยวาล์วเก็บตัวอย่าง
- การฉีดตัวอย่างที่เป็นของเหลวด้วย syringe
- การฉีด GC
- การใช้ syringe ฉีดตัวอย่างที่เป็นแก๊ส
- การดึงเศษท่อทองแดงที่หักคา tube fitting ออก
- การตั้งอุณหภูมิคอลัมน์ GC
- การติดตั้ง Integrator ให้กับ GC-8A เพื่อวัด CO2
- การเตรียมคอลัมน์ GC ก่อนการใช้งาน
- การปรับความสูงพีค GC
- การวัดปริมาณไฮโดรเจนด้วย GC-TCD
- ข้อสังเกตเกี่ยวกับ FPD (ตอนที่ ๒)
- ข้อสังเกตเกี่ยวกับ FPD (Flame Photometric Detector)
- โครมาโทกราฟแยกสารได้อย่างไร
- ชนิดคอลัมน์ GC
- ตรวจโครมาโทแกรม ก่อนอ่านต้วเลข
- ตัวอย่างการแยกพีค GC ที่ไม่เหมาะสม
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๑
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๒
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๓
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๔
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๕
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๖
- ทำไมพีคจึงลากหาง
- ผลกระทบของน้ำที่มีต่อการวัดคาร์บอนไดออกไซด์ ตอนที่ ๑
- ผลกระทบของน้ำที่มีต่อการวัดคาร์บอนไดออกไซด์ ตอนที่ ๒
- ผลกระทบของน้ำที่มีต่อการวัดคาร์บอนไดออกไซด์ ตอนที่ ๓
- พีคที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างน้ำกับ packing ในคอลัมน์ GC
- พีคประหลาดจากการใช้อากาศน้อยไปหน่อย
- มันไม่เท่ากันนะ
- เมื่อความแรงของพีค GC ลดลง
- เมื่อจุดไฟ FID ไม่ได้
- เมื่อพีค GC หายไป
- เมื่อพีค GC ออกมาผิดเวลา
- เมื่อพีค GC ออกมาผิดเวลา(อีกแล้ว)
- เมื่อเพิ่มความดันอากาศให้กับ FID ไม่ได้
- เมื่อ GC ถ่านหมด
- เมื่อ GC มีพีคประหลาด
- ลากให้ผ่านหรือไม่ให้ผ่าน
- สัญญาณจาก carrier gas รั่วผ่าน septum
- สารพัดปัญหา GC
- สิ่งปนเปื้อนในน้ำ DI
- สิ่งปนเปื้อนในน้ำ DI (ตอนที่ ๒)
- Chromatograph principles and practices
- Flame Ionisation Detector
- GC-2014 ECD & PDD ตอนที่ ๗ ข้อสังเกตเกี่ยวกับ ECD (Electron Capture Detector)
- GC detector
- GC - peak fitting ตอนที่ ๑ การหาพื้นที่พีคที่เหลื่อมทับ
- GC principle
- LC detector
- LC principle
- MO ตอบคำถาม การแยกพีค GC ด้วยโปรแกรม fityk
- MO ตอบคำถาม สารพัดปัญหาโครมาโทแกรม
- Relative Response Factors (RRF) ของสารอินทรีย์ กับ Flame Ionisation Detector (FID)
- Thermal Conductivity Detector
- Thermal Conductivity Detector ภาค 2
สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items - DUI)
- การก่อการร้ายด้วยแก๊สซาริน (Sarin) ในรถไฟใต้ดินกรุงโตเกียว MO Memoir : Friday 6 September 2567
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๐ ฟังก์ชันเข้ารหัสรีโมทเครื่องปรับอากาศ
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๑ License key
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๒ สารเคมี (Chemicals)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๓ ไม่ตรงตามตัวอักษร (สารเคมี)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๔ ไม่ตรงตามตัวอักษร (Heat exchanger)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๕ Sony PlayStation
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๖ เส้นใยคาร์บอน (Carbon fibre)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๗ The Red Team : Centrifugal separator
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๘ The Blue Team : Spray drying equipment
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๙ เครื่องสลายนิ่วในไตด้วยคลื่นกระแทก (Lithotripter)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑ ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒๐ เรซินแลกเปลี่ยนไอออน (Ion-exchange resin)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒๑ ไม่ตรงตามตัวอักษร (Aluminium tube)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒๒ เครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า (Defibrillator)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒๓ เครื่องยนต์ดีเซล
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๓ เครื่องแปลงความถี่ไฟฟ้า (Frequency Changer)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๔ อุปกรณ์เข้ารหัส (Encoding Device)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๕ Insulated Gate Bipolar Transistor (IGBT)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๖ Toshiba-Kongsberg Incident
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๗ รายงานผลการทดสอบอุปกรณ์
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๘ Drawing อุปกรณ์
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๙ ซอร์ฟแวร์ควบคุมการทำงานอุปกรณ์
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๑
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๑๐
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๒
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๓
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๔
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๕
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๖
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๗
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๘
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๙
API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๐)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๑)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๒)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๓)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๔)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๕)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๒)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๓)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๔)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๕)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๖)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๗)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๘)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๙)
เมื่อถึงกาล ที่ต้องจากลา
- ๒๕๕๕ ๔ ปีที่ผ่านมา (สำหรับนิสิตป.ตรีรหัส ๕๑)
- ๒๕๕๖ ดอกไม้ที่เราเห็นในวันนั้น (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๕๒)
- ๒๕๕๗ ไผ่ออกดอกบาน ก็ถึงกาลลาจาก (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๕๓)
- ๒๕๕๘ ในซอกเล็ก ๆ ของลิ้นชักความทรงจำ (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๕๔)
- ๒๕๕๙ เพื่อความสำเร็จในหน้าที่การงาน (สำหรับนิสิตป.โท)
- ๒๕๕๙ วตฺตา จ (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๕๕)
- ๒๕๖๐ ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ (สำหรับนิสิตวิศวกรรมนาโน รหัส ๕๖)
- ๒๕๖๐ เรียน แลป สอบ (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๕๖)
- ๒๕๖๐ วางความคิดให้เป็นกลาง แล้วตั้งคำถามพื้น ๆ (สำหรับนิสิตป.โท)
- ๒๕๖๑ ในที่สุด การเดินทางก็มาถึงวันนี้ (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๕๗)
- ๒๕๖๑ อาจารย์คะ หนูคิดจะย้ายที่ปรึกษาค่ะ (สำหรับนิสิตป.โท)
- ๒๕๖๒ ฝากเก็บเอาไว้ ณ ที่ที่คุณเห็นสมควร (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๕๘)
- ๒๕๖๒ แล้วเราก็มีเรื่องราวใหม่ ๆ ที่จะบอกเล่าสืบต่อกันไป (สำหรับนิสิตป.โท)
- ๒๕๖๓ เพราะการจากลา อาจมาในเวลาที่เราคาดไม่ถึง (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๕๙)
- ๒๕๖๔ เพราะโลกมันกลม แล้วเราทุกคน คงได้กลับมาพบกันอีก (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๖๐)
- ๒๕๖๕ ใช่ว่าการที่ต้องแยกห่างกัน จะไม่ทำให้เราได้เรียนรู้อะไร (สำหรับนิสิตป.ตรีรหัส ๖๑)
- ๒๕๖๖ เพราะสิ่งสำคัญยิ่งกว่าผลลัพธ์ในแจกัน คือ กระบวนการสร้างสรรค์ระหว่างทาง (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๖๒)
- ๒๕๖๗ ร้านข้าวแกงที่มีกับข้าว ๕ อย่าง (สำหรับนิสิตป.ตรี รหัส ๖๓)
- แล้วก็ถึงเวลา ที่ผมควรต้องวางประแจ (สำหรับนิสิตป.โท)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น