เมื่อวันจันทร์ที่ 18 สิงหาคม 2551 ได้ลองถามนิสิตดูว่าในห้องแลปมีถังน้ำอยู่ 2 ใบ ในหนึ่งใส่น้ำกลั่น (distilled water) และอีกใบหนึ่งใส่น้ำดีมิน (ดีมิน ไม่ใช่ดีหมี เป็นชื่อย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า demineralized water หรือ deionized water) เวลาที่เลือกใช้จะเลือกใช้ถังไหน เพราะเหตุใด และน้ำทั้งสองถังต่างกันอย่างไร ปรากฏว่าไม่มีใครให้เหตุผลได้ว่าทำไมเลือกใช้น้ำจากถังนั้น และอธิบายไม่ได้ว่าน้ำทั้งสองถังต่างกันอย่างไร เอาเป็นว่าใช้ตามรุ่นพี่ก็แล้วกัน คำตอบว่า "ทำตามรุ่นพี่" ถือเป็นเหตุผลครอบจักรวาลของแลป ที่สามารถหักล้างเหตุผลทางวิทยาศาสตร์และไสยศาสตร์ใด ๆ ได้อย่างห้ามมีข้อโต้แย้งหรือข้อสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้นถ้าอยากเรียนจบอย่างสบาย ๆ พูดอีกนัยหนึ่งคือรุ่นพี่ทำถูกเสมอ เคยคิดอยู่เหมือนกันว่าจะลองรวบรวมเหตุผล/ความเชื่อเหล่านี้มาเขียนเป็นเรื่องเล่าสักเรื่องในทำนองเดียวกับที่ฝรั่งเรียกว่า Urban legend หรือเรื่องเล่าขานตำนานเมือง แต่ในที่นี้คงต้องเรียกว่า Laboratory legend
จริง ๆ แล้วเรื่องที่นิสิตปฏิบัติต่อน้ำกลั่นและน้ำดีมินไม่เหมือนกันนี้เห็นมานานแล้ว และได้ทำการอธิบายไปหลายรุ่นแล้ว วันนี้จึงขอบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรสักที
ในห้องปฏิบัติการเคมีจำเป็นต้องมีน้ำบริสุทธิ์สำหรับใช้ในการเตรียมสารเคมีต่าง ๆ แหล่งที่มาของน้ำบริสุทธิ์นั้นอาจมาจากการจัดซื้อจากผู้ผลิตขายโดยตรง หรือผลิตใช้เองในห้องปฏิบัติการจากแหล่งน้ำที่มีอยู่ (โดยทั่วไปก็คือน้ำประปานั่นแหละ) น้ำบริสุทธิ์ในที่นี้หมายถึงน้ำที่มีแต่โมเลกุล H2O เท่านั้นโดยไม่มีสิ่งแปลกปลอมอื่นใดเจือปนอยู่ (ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของสารละลายหรือแขวนลอยอยู่ก็ตาม) แต่ในทางปฏิบัตินั้นเรามักไม่จำเป็นต้องใช้น้ำที่มีความบริสุทธิ์ขนาดนั้นเสมอ ใช้น้ำบริสุทธิ์เพียงแค่สิ่งเจือปนที่มีอยู่นั้นมีอยู่น้อยมากจนไม่ส่งผลกระทบต่อการนำไปใช้งานได้ก็พอ ซึ่งระดับการอยู่ของสิ่งเจือปนนั้นจะขึ้นอยู่กับแต่ละงาน บางงานก็ยอมให้มีอยู่ได้มากในขณะที่บางงานก็ยอมให้มีอยู่ได้น้อยมาก
การทำให้น้ำบริสุทธิ์ (Water purification) กับการปรับสภาพน้ำ (Water treatment) นั้นไม่เหมือนกัน การทำให้น้ำบริสุทธิ์จะมุ่งเน้นไปที่การเอาสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ใช่โมเลกุลน้ำออกจากน้ำนั้น (หรือเอาน้ำออกมาจากสิ่งปนเปื้อนเหล่านั้น) ส่วนการปรับสภาพน้ำนั้นคือการทำให้น้ำมีคุณสมบัติดังต้องการ เช่น ไม่กัดกร่อน ไม่ทำให้เกิดโฟมเวลาต้ม ไม่เกิดการเดือดอย่างรุนแรง ฯลฯ ซึ่งการปรับสภาพน้ำมักเกี่ยวข้องกับการเติมสารเคมีที่เหมาะสมเข้าไปในน้ำเพื่อให้น้ำมีคุณสมบัติดังต้องการ ในที่นี้จะขอไม่กล่าวถึงการปรับสภาพน้ำแต่จะกล่าวเฉพาะการทำให้น้ำบริสุทธิ์
ก่อนอื่นเรามาทำความเข้าใจก่อนว่าสิ่งเจือปนที่มากับน้ำนั้นมีอะไรได้บ้าง เพราะการเลือกวิธีการทำให้น้ำบริสุทธิ์นั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งเจือปน ในที่นี้ขอจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ พวกที่ไม่ละลายน้ำ และพวกที่ละลายน้ำ
พวกที่ไม่ละลายน้ำคือพวกสารแขวนลอยต่าง ๆ อาจอยู่ในรูปของของแข็งหรือคอลลอยด์ ซึ่งอาจเป็นสารอินทรีย์ที่ไม่ละลายน้ำ ตะกอนของแข็ง หรือเชื้อจุลชีพต่าง ๆ (แบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ฯลฯ) ปรกติแล้วสิ่งปนเปื้อนพวกนี้จะสามารถกำจัดได้ได้ด้วยวิธีการกรองที่เหมาะสม
พวกที่ละลายน้ำได้แก่พวกเกลือแร่ต่าง ๆ ที่ละลายอยู่ในรูปของไอออน และสารอินทรีย์ที่ละลายน้ำได้ที่ละลายอยู่ในรูปของโมเลกุล ในส่วนของน้ำประปาที่เราใช้ผลิตน้ำบริสุทธิ์ในห้องปฏิบัติการเคมีนั้น สิ่งปนเปื้อนส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปไอออนต่าง ๆ ที่มากับแหล่งน้ำดิบที่ใช้ในการผลิตน้ำประปามากกว่าที่จะเป็นสารอินทรีย์ที่ละลายน้ำได้ แหล่งที่มาของสารอินทรีย์อาจเป็นตัวแหล่งน้ำดิบเอง หรือจากถังพัก/บ่อพักน้ำของอาคาร (ปรกติแล้วน้ำประปาจะไม่จ่ายตรงเข้าไปในอาคารเนื่องจากแรงดันไม่พอและไม่ทันกับความต้องการเมื่อมีการต้องการใช้งานมาก ตัวอาคารจึงต้องมีบ่อพักน้ำสำหรับเก็บน้ำประปา (ซึ่งอยู่ด้านล่างอาคาร) แล้วจึงสูบน้ำจากบ่อพักนี้จ่ายออกไปหรือส่งไปเก็บบนถังพักน้ำที่อยู่ด้านบนอาคารให้จ่ายน้ำไหลลงมาอีกทีหนึ่ง บ่อพักน้ำ/ถังพักน้ำเหล่านี้ถ้าปิดไม่สนิทก็อาจมีตัวอะไรต่อมิอะไรตกลงไปจมน้ำตายอยู่ข้างในได้ ที่โหดหน่อยดูเหมือนจะเป็นการเอาศพคนไปซ่อนที่มีข่าวเมื่อไม่นานนี้)
เกลือแร่ที่ละลายอยู่จะทำให้น้ำมีรสชาติแตกต่างกัน (ถ้าดื่มน้ำแร่ที่เป็นน้ำแร่จริง น้ำบรรจุขวดพลาสติกใส และขวดพลาสติกขุ่น หลายหลายยี่ห้อกัน จะพบได้ว่าน้ำมีรสชาติแตกต่างกัน แต่มีข้อแม้ว่าต้องไม่ใช่พวกลิ้นจระเข้นะ) ส่วนสารอินทรีย์ที่ละลายอยู่จะทำให้น้ำมีกลิ่น
วิธีการหลักในการทำให้น้ำบริสุทธิ์ที่ใช้กันในห้องปฏิบัติการเคมีมีอยู่ 2 วิธีการด้วยกันคือการกลั่นและการแลกเปลี่ยนไอออน
1) การกลั่น
การกลั่นเป็นการนำน้ำออกจากสิ่งเจือปนโดยการให้ความร้อนแก่น้ำจนน้ำระเหยออกเป็นไอน้ำ จากนั้นจึงทำการควบแน่นไอน้ำที่กลั่นได้ ในทางทฤษฎีแล้วควรจะได้น้ำบริสุทธิ์ แต่ในทางปฏิบัติจะพบว่าน้ำที่ได้ยังอาจมีไอออนบางส่วนละลายอยู่ ทั้งนี้เป็นเพราะว่าในขณะที่ทำการกลั่นนั้นน้ำอาจเกิดการเดือดรุนแรง ทำให้มีบางส่วนหลุดรอดติดมากับไอน้ำในรูปของหยดน้ำเล็ก ๆ (เหมือนกับที่เราไปนั่งริมทะเลแล้วรู้สึกเหนียวตัวทั้ง ๆ ที่ไม่ได้ลงน้ำทะเล เป็นเพราะลมจากทะเลพัดเอาน้ำทะเลมาในรูปละอองเล็ก ๆ มาเกาะตัวเรา หรือเวลาที่เอารถไปเที่ยวทะเลและเอาไปจอดใกล้กับทะเล จะมีคำแนะนำว่ากลับจากเที่ยวแล้วให้รีบล้างรถ เพราะเกลือที่มากับละอองน้ำทะเลจะทำให้เหล็กเป็นสนิมได้ง่าย) โดยทั่วไปถ้าอุปกรณ์ที่ใช้ทำการกลั่นและอุปกรณ์รองรับน้ำมีความสะอาดมากพอ น้ำที่ได้ก็จะมีความบริสุทธิ์มากด้วยการกลั่นครั้งเดียว และเพียงพอสำหรับงานส่วนใหญ่ในห้องปฏิบัติการเคมีทั่วไป ข้อเสียของการกลั่นคือสิ้นเปลืองพลังงานมาก แต่ก็มีข้อดีคืออุปกรณ์ไม่ต้องการการดูแลรักษามาก แค่ทำการล้างตะกรันที่เกิดจากการต้มน้ำทิ้งเป็นระยะก็พอ ที่เคยใช้อยู่ก็ซื้อมาตั้งกว่า 10 ปีแล้ว ในช่วงเปิดเทอมก็เดินเครื่องกัน 8 ชั่วโมงต่อวัน 5 วันต่อสัปดาห์ ก็ยังไม่เคยมีปัญหาต้องให้ช่างมาดูแลหรือซ่อมบำรุงใด ๆ ทำเพียงแค่ล้างคราบตะกรันช่วงปิดเทอมเท่านั้นเองด้วยการแช่กรดเจือจาง
2) การแลกเปลี่ยนไอออน
การแลกเปลี่ยนไอออนเป็นการทำให้น้ำบริสุทธิ์โดยการกำจัดเอาไอออนบวกที่ไม่ใช่ H+ และไอออนลบที่ไม่ใช่ OH- ออกจากน้ำ โดยทั่วไปจะใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออน เมื่อเปรียบเทียบกับการกลั่นแล้วการแลกเปลี่ยนไอออนจะใช้พลังงานน้อยกว่า (เพราะไม่ต้องทำให้น้ำเดือด และต้องสูญเสียความร้อนทิ้งไปตอนทำให้ไอน้ำควบแน่น) แต่ต้องมีการบำรุงรักษาไส้กรองหรือเรซินแลกเปลี่ยนไอออน (เครื่องดูไฮเทคแต่บอบบาง) น้ำที่ผลิตได้จากกระบวนการนี้เรียกว่าน้ำปราศจากเกลือแร่ (demineralized water หรือน้ำดีมิน) หรือน้ำปราศจากไอออน (deionized water) นั่นเอง
ดังนั้นการที่เรียกว่าน้ำนั้นเป็นน้ำกลั่นหรือน้ำดีมินจึงเป็นการเรียกตามกระบวนการผลิต และถ้าน้ำนั้นมีความบริสุทธิ์เหมือนกันก็สามารถใช้แทนกันได้ ไม่ได้มีกติกาใดบอกว่าน้ำกลั่นดีกว่าน้ำดีมินหรือน้ำดีมินดีกว่าน้ำกลั่น ที่เคยนำมาวิเคราะห์ด้วยการวัดค่าการนำไฟฟ้าก็พบว่ามีความบริสุทธิ์เหมือนกัน ถ้าจะแตกต่างกันน่าจะเป็นผลจากการปนเปื้อนที่ภาชนะบรรจุหรือไม่ได้ทำการบำรุงรักษาอุปกรณ์ตามเวลาที่สมควรมากกว่า
ตัวที่จะเป็นปัญหามากกว่าน่าจะเป็นสารอินทรีย์ที่ละลายอยู่ ในกรณีของน้ำกลั่นนั้นสารอินทรีย์นั้นอาจจะระเหยมาพร้อมกับน้ำเมื่อเราทำการต้ม และควบแน่นพร้อมกับไอน้ำที่ควบแน่นด้วย ในการกลั่นนั้นถ้าสารอินทรีย์นั้นจุดเดือดสูงกว่าน้ำก็จะระเหยได้น้อยกว่า แต่ถ้าสารอินทรีย์นั้นจุดเดือดต่ำกว่าน้ำก็จะควบแน่นได้น้อยกว่า ส่วนการแลกเปลี่ยนไอออนนั้นต้องใช้ตัวกรองที่แตกต่างไปจากเรซินแลกเปลี่ยนไอออน ตัวหนึ่งที่ใช้กันก็คือพวกถ่านกัมมันต์ (activated carbon) ซึ่งพวกนี้จะจับสารอินทรีย์ ส่วนพวกเรซินจะจับกับไอออนต่าง ๆ โดยไม่ยุ่งกับสารอินทรีย์ แต่สำหรับน้ำประปาที่เราใช้มาผลิตน้ำกลั่นหรือน้ำดีมินนั้นถือได้ว่ามีพวกนี้อยู่น้อยมากหรือไม่มีก็ได้
อีกพวกหนึ่งที่ปนเปื้อนในน้ำคือเชื้อโรคต่าง ๆ (เชื้อแบคทีเรีย สาหร่ายเซลล์เดียวที่ทำให้เป็นตะไคร่ ฯลฯ) พวกนี้มีวิธีฆ่าได้หลายวิธี เช่นใช้โอโซน ใช้รังสียูวี ทำการต้ม แต่วิธีการเหล่านี้เพียงแค่ทำให้เชื้อเหล่านี้ตาย กลายเป็นซากศพที่ยังอยู่ในน้ำ ถ้าอยากกำจัดออกก็ต้องทำการกรองเอาซากศพพวกนี้ออกหรือทำการกลั่นเพื่อระเหยเอาโมเลกุลน้ำออกจากซากศพเหล่านี้ แต่จะว่าไปแล้วถ้าใช้ไส้กรองที่มีขนาดรูเล็กมากก็จะสามารถดักเชื้อเหล่านี้เอาไว้ได้ (โดยที่ไม่ได้ฆ่ามัน) และน้ำที่ผ่านออกไปก็จะปราศจากเชื้อเหล่านี้
การวัดความบริสุทธิ์ของน้ำทำได้โดยการวัดค่าการนำไฟฟ้าหรือความต้านทาน น้ำบริสุทธิ์จะนำไฟฟ้าได้ต่ำมาก แต่ถ้ามีไอออนปนอยู่จะนำไฟฟ้าได้ดีขึ้น ดังนั้นถ้าน้ำไม่มีเกลือแร่ใดละลายอยู่เลยน้ำจะมีค่าการนำไฟฟ้าที่ต่ำมาก (หรือมีค่าความต้านทานที่สูงมาก) ปรกติน้ำกลั่นที่ใช้ในห้องปฏิบัติการที่เคยวัดค่าการนำไฟฟ้าจะได้ไม่เกิน 2 ไมโครซีเมนต์ต่อเซนติเมตร ส่วนน้ำดีมินก็อยู่ในระดับเดียวกัน บางคนคิดน้ำการวัดความบริสุทธิ์ของน้ำดูได้จากค่าพีเอช โดยน้ำบริสุทธิ์จะมีค่าพีเอชเท่ากับ 7 ซึ่งเป็นความเชื่อที่ถูกแต่ว่าในทางกลับกันไม่ใช่ กล่าวคือน้ำบริสุทธิ์มีค่าพีเอชเท่ากับ 7 แต่น้ำที่มีค่าพีเอชเท่ากับ 7 ไม่จำเป็นต้องเป็นน้ำบริสุทธิ์ เพราะถ้าน้ำนั้นมีสารอะไรก็ตามที่ไม่ใช่กรดหรือเบสละลายอยู่ (เช่นเกลือแกง) น้ำนั้นก็จะมีค่าพีเอชเป็น 7 เช่นเดียวกันกับน้ำบริสุทธิ์ แต่ค่าการนำไฟฟ้า (หรือความต้านทาน) จะแตกต่างกัน และถ้าจะวัดกันจริง ๆ แล้วอาจจะพบว่าค่าพีเอชของน้ำบริสุทธิ์ที่ผลิตได้อาจมีค่าน้อยกว่า 7 ได้เล็กน้อย ทั้งนี้เป็นเพราะ CO2 ในอากาศละลายลงไปในน้ำทำให้เห็นว่าน้ำมีความเป็นกรดเล็กน้อย
หลอดเอ็กซ์เรย์ของเครื่อง XRD ในห้องปฏิบัติการจำเป็นต้องใช้น้ำที่สะอาดมากในการระบายความร้อน ทั้งนี้เป็นเพราะเส้นทางการไหลของน้ำในตัวหลอดเป็นเส้นทางเล็ก ๆ และในระหว่างใช้งานหลอดจะมีความร้อนสูง และถ้าน้ำมีเกลือแร่บางอย่างปนอยู่ โดยเฉพาะพวกที่ละลายน้ำได้น้อยในน้ำร้อน (พวกหินปูนต่าง ๆ) เกลือแร่พวกนี้ก็จะกลายเป็นตะกรันกีดขวางเส้นทางการไหลของน้ำ ทำให้ประสิทธิภาพในการระบายความร้อนลดลง เพื่อเป็นการป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตัวหลอดจึงได้มีการติดตั้งเครื่องวัดค่าการนำไฟฟ้าและต่อเข้ากับวงจรควบคุม โดยถ้าน้ำมีค่าการนำไฟฟ้าสูงเกินกำหนดก็จะไม่สามารถเปิดใช้งานหลอดเอ็กซ์เรย์ได้
แต่ก่อนมีแต่น้ำกลั่นใช้ ต้องไปขนกันมาจากแลปเคมีที่ตึกข้าง ๆ ต่อมาก็มีเครื่องทำน้ำดีมินมาติดตั้งในแลป ทุกคนก็แห่กันมาใช้น้ำดีมินกันใหญ่เพราะขี้เกียจไปขนน้ำ ในปัจจุบันแม้ว่าเครื่องผลิตน้ำดีมินจะถูกย้ายออกไปแล้วแต่ก็ดูเหมือนว่ายังชอบใช้น้ำดีมินกันอยู่ เพราะถ้ามันหมดก็ไม่ต้องเดินไปไกลข้ามตึก แค่เดินขึ้นลงชั้นเดียวก็ได้แล้ว นอกจากนี้ก็ยังมีการสร้างความเชื่อขึ้นมาว่า น้ำดีมินดีกว่าน้ำกลั่น น้ำดีมินไม่เหมือนน้ำกลั่น น้ำดีมินกับน้ำกลั่นใช้แทนกันไม่ได้ สาเหตุหนึ่งอาจเกิดจากความไม่รู้ หรือเกิดจากการที่ไม่ต้องการไปขนน้ำกลั่นเมื่อน้ำกลั่นหมด ก็เลยสร้างความเชื่อหรือยอมรับคำอธิบายที่ทำให้ตัวเองสบาย ไม่ต้องรับผิดชอบอะไรมากเกินไป
บันทึกช่วยจำของกลุ่มวิจัยตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะออกไซด์ บันทึกความจำของวิศวกรเคมีผู้ลงมือปฏิบัติ (mo.memoir@gmail.com)
วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2552
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ตัวเร่งปฏิกิริยาและการทดสอบ
- การกำจัดสีเมทิลีนบลู
- การคำนวณพื้นที่ผิวแบบ Single point BET
- การคำนวณพื้นที่ผิวแบบ Single point BET ตอนที่ ๒ ผลกระทบจากความเข้มข้นไนโตรเจนที่ใช้
- การจำแนกตำแหน่งที่เป็นกรด Brönsted และ Lewis บนพื้นผิวของแข็งด้วยเทคนิค Infrared spectroscopy และ Adsorbed probe molecules
- การจำแนกตำแหน่งที่เป็นเบส Brönsted และ Lewis บนพื้นผิวของแข็งด้วยเทคนิค Infrared spectroscopy และ Adsorbed probe molecules
- การใช้ข้อต่อสามทางผสมแก๊ส
- การใช้ Avicel PH-101 เป็น catalyst support
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๑ ขั้นตอนของการเกิดปฏิกิริยาบนตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๒ การดูดซับบนพื้นผิวของแข็ง
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๓ แบบจำลองไอโซเทอมการดูดซับของ Freundlich
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๔ แบบจำลองไอโซเทอมการดูดซับของ Langmuir
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๕ แบบจำลองไอโซเทอมการดูดซับของ Temkin
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๖ แบบจำลองไอโซเทอมการดูดซับของ BET
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๗ ตัวอย่างไอโซเทอมการดูดซับของ BET
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๘ ตัวอย่างไอโซเทอมการดูดซับของ BET (๒)
- การดูดซับบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๙ ตัวอย่างไอโซเทอมการดูดซับของ BET (๓)
- การเตรียมตัวอย่างตัวเร่งปฏิกิริยาแบบผงให้เป็นแผ่นบาง
- การทดสอบตัวเร่งปฏิกิริยา - ผลแตกต่างหรือไม่แตกต่าง
- การทำปฏิกิริยา ๓ เฟสใน stirred reactor
- การบรรจุ inert material ใน fixed-bed
- การปรับ WHSV
- การปั่นกวนของแข็งให้แขวนลอยในของเหลว ตอนที่ ๑ ผลของความหนาแน่นที่แตกต่าง
- การปั่นกวนของแข็งให้แขวนลอยในของเหลว ตอนที่ ๒ ขนาดของ magnetic bar กับเส้นผ่านศูนย์กลางภาชนะ
- การปั่นกวนของแข็งให้แขวนลอยในของเหลว ตอนที่ ๓ ผลของรูปร่างภาชนะ
- การผสมแก๊สอัตราการไหลต่ำเข้ากับแก๊สอัตราการไหลสูง
- การระบุชนิดโลหะออกไซด์
- การลาก smooth line เชื่อมจุด
- การเลือกค่า WHSV (Weight Hourly Space Velocity) สำหรับการทดลอง
- การวัดความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง (อีกครั้ง)
- การวัดปริมาณตำแหน่งที่เป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็งด้วย GC
- การวัดปริมาณตำแหน่งที่เป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็งด้วย GC (๒)
- การวัดพื้นที่ผิว BET
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๑)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๒)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๓)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๔)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๕)
- การวิเคราะห์ความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง ด้วยเทคนิคการดูดซับ Probe molecule (๖)
- การไหลผ่าน Straightening vane และโมโนลิท (Monolith)
- เก็บตกจากการประชุมวิชาการ ๒๕๕๗ ตอนที่ ๑
- เก็บตกจากการประชุมวิชาการ ๒๕๕๗ ตอนที่ ๒
- ข้อควรระวังเมื่อใช้ออกซิเจนความเข้มข้นสูง
- ข้อพึงระวังในการแปลผลการทดลอง
- ค่า signal to noise ratio ที่ต่ำที่สุด
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๑ Volcano principle
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๒ แบบจำลอง Langmuir
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๓ แบบจำลอง Langmuir-Hinshelwood
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๔ แบบจำลอง Eley-Rideal
- จลนศาสตร์การเกิดปฏิกิริยาบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ตอนที่ ๕ แบบจำลอง REDOX
- ตอบคำถามเรื่องการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา
- ตัวเลขมันสวย แต่เชื่อไม่ได้
- ตัวเลขไม่ได้ผิดหรอก คุณเข้าใจนิยามไม่สมบูรณ์ต่างหาก
- ตัวไหนดีกว่ากัน (Catalyst)
- แต่ละจุดควรต่างกันเท่าใด
- ท่อแก๊สระบบ acetylene hydrogenation
- น้ำหนักหายได้อย่างไร
- ปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจนและการแทนที่ไฮโดรเจนของอะเซทิลีน
- ปฏิกิริยาอันดับ 1 หรือปฏิกิริยาอันดับ 2
- ปฏิกิริยาเอกพันธ์และปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ในเบดนิ่ง
- ปั๊มสูบไนโตรเจนเหลวจากถังเก็บ
- ผลของแก๊สเฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยา
- เผาในเตาแบบไหนดี (Calcination)
- พลังงานกระตุ้นกับปฏิกิริยาคายความร้อนในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง
- เมื่อแก๊สรั่วที่ rotameter
- เมื่อพีคออกซิเจนของระบบ DeNOx หายไป
- เมื่อเส้น Desorption isotherm ต่ำกว่าเส้น Adsorption isotherm
- เมื่อ base line เครื่อง chemisorb ไม่นิ่ง
- เมื่อ Mass Flow Controller คุมการไหลไม่ได้
- เรื่องของสุญญากาศกับ XPS
- สแกนกี่รอบดี
- สมดุลความร้อนรอบ Laboratory scale fixed-bed reactor
- สรุปการประชุมวันพฤหัสบดีที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๓
- เส้น Cu Kα มี ๒ เส้น
- เห็นอะไรไม่สมเหตุสมผลไหมครับ
- อย่าลืมดูแกน Y
- อย่าให้ค่า R-squared (Coefficient of Determination) หลอกคุณได้
- อุณหภูมิกับการไหลของแก๊สผ่าน fixed-bed
- อุณหภูมิและการดูดซับ
- BET Adsorption-Desorption Isotherm Type I และ Type IV
- ChemiSorb 2750 : การเตรียมตัวอย่างเพื่อการวัดพื้นที่ผิว BET
- ChemiSorb 2750 : การวัดพื้นที่ผิวแบบ Single point BET
- ChemiSorb 2750 : ผลของอัตราการไหลต่อความแรงสัญญาณ
- Distribution functions
- Electron Spin Resonance (ESR)
- GHSV หรือ WHSV
- Ion-induced reduction ขณะทำการวิเคราะห์ด้วย XPS
- MO ตอบคำถาม การทดลอง gas phase reaction ใน fixed-bed
- MO ตอบคำถาม การวัดความเป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็ง
- Monolayer หรือความหนาเพียงชั้นอะตอมเดียว
- NH3-TPD - การลาก base line
- NH3-TPD - การลาก base line (๒)
- NH3-TPD - การไล่น้ำและการวาดกราฟข้อมูล
- NH3-TPD ตอน ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ ๑
- NH3-TPD ตอน ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ ๒
- Physisorption isotherms Type I และ Type IV
- Scherrer's equation
- Scherrer's equation (ตอนที่ 2)
- Scherrer's equation (ตอนที่ ๓)
- Scherrer's equation (ตอนที่ ๔)
- Supported metal catalyst และ Supported metal oxide catalyst
- Temperature programmed reduction ด้วยไฮโดรเจน (H2-TPR)
- Temperature programmed reduction ด้วยไฮโดรเจน (H2-TPR) ภาค ๒
- UV-Vis - peak fitting
- XPS ตอน การแยกพีค Mo และ W
- XPS ตอน จำนวนรอบการสแกน
- XRD - peak fitting
คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมเคมี
- การแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์สามัญปัญหาเงื่อนไขค่าเริ่มต้นด้วยระเบียบวิธี Bogacki-Shampine และ Predictor-Evaluator-Corrector-Evaluator (PECE)
- การแก้ปัญหาสมการอนุพันธ์สามัญ ด้วย ODE solvers ของ GNU Octave ตอนที่ ๑
- การแก้ปัญหาสมการอนุพันธ์สามัญ ด้วย ODE solvers ของ GNU Octave ตอนที่ ๒
- การแก้ปัญหาสมการอนุพันธ์สามัญ ด้วย ODE solvers ของ GNU Octave ตอนที่ ๓
- การแก้สมการเชิงอนุพันธ์สามัญด้วยการใช้ Integrating factor
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑๐)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑๑)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑๒)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๑๓)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๒)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๓)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๔)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๕)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๖)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๗)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๘)
- การแก้สมการอนุพันธ์ด้วยฟังก์ชันพหุนาม (๙)
- การคำนวณค่าฟังก์ชันพหุนาม
- การปรับเรียบ (Smoothing) ข้อมูล (ตอนที่ ๑)
- การปรับเรียบ (Smoothing) ข้อมูล (ตอนที่ ๒)
- การปรับเรียบ (Smoothing) ข้อมูล (ตอนที่ ๓)
- การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร x และ y
- ข้อพึงระวังในการใช้ฟังก์ชันพหุนามในการประมาณค่าในช่วง
- ข้อพึงระวังในการใช้ฟังก์ชันพหุนามในการประมาณค่าในช่วง (๒)
- ข้อพึงระวังในการใช้ฟังก์ชันพหุนามในการประมาณค่าในช่วง (๒) (pdf)
- ข้อพึงระวังในการใช้ฟังก์ชันพหุนามในการประมาณค่าในช่วง (๓)
- ข้อสอบเก่าชุดที่ ๑
- ข้อสอบเก่าชุดที่ ๒
- ค่าคลาดเคลื่อน (error)
- จำนวนที่น้อยที่สุดที่เมื่อบวกกับ 1 แล้วได้ผลลัพธ์ไม่ใช่ 1
- ใช่ว่าคอมพิวเตอร์จะคิดเลขถูกเสมอไป
- ตัวเลขที่เท่ากันแต่ไม่เท่ากัน
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วยระเบียบวิธีนิวตัน-ราฟสัน
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วยระเบียบวิธี Müller และ Inverse quadratic interpolation
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วยระเบียบวิธี successive iteration
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วยระเบียบวิธี successive iteration (pdf)
- ตัวอย่างการแก้ปัญหา สมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วย Function fzero ของ GNU Octave
- ตัวอย่างการคำนวณหาพื้นที่ใต้กราฟ ด้วยระเบียบวิธี Gaussian quadrature
- ตัวอย่างการคำนวณหาพื้นที่ใต้กราฟ ด้วยระเบียบวิธี Gaussian quadrature (pdf)
- ตัวอย่างผลของรูปแบบสมการต่อคำตอบของ ODE-IVP
- ตัวอย่างเพิ่มเติมบทที่ ๑
- ตัวอย่างเพิ่มเติมบทที่ ๒
- ตัวอย่างเพิ่มเติมบทที่ ๓
- ตัวอย่างเพิ่มเติมบทที่ ๔
- ทบทวนเรื่องการคูณเมทริกซ์
- ทบทวนเรื่อง Taylor's series
- ทศนิยมลงท้ายด้วยเลข 5 จะปัดขึ้นหรือปัดลง
- บทที่ ๑ การคำนวณตัวเลขในระบบทศนิยม
- บทที่ ๒ การแก้ปัญหาระบบสมการพีชคณิตเชิงเส้น
- บทที่ ๓ การแก้ปัญหาระบบสมการพีชคณิตไม่เชิงเส้น
- บทที่ ๔ การประมาณค่าในช่วง
- บทที่ ๕ การหาค่าอนุพันธ์
- บทที่ ๖ การหาค่าอินทิกรัล
- บทที่ ๗ การแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการปัญหาเงื่อนไขค่าเริ่มต้น
- บทที่ ๘ การแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการปัญหาเงื่อนไขค่าขอบเขต
- บทที่ ๙ การแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย
- ปฏิกิริยาคายความร้อนใน CSTR (ตอนที่ ๑)
- ปฏิกิริยาคายความร้อนใน CSTR (ตอนที่ ๒)
- เปรียบเทียบการแก้ปัญหาสมการพีชคณิตไม่เชิงเส้นด้วย solver ของ GNU Octave
- เปรียบเทียบการแก้ Stiff equation ด้วยระเบียบวิธี Runge-Kutta และ Adam-Bashforth
- เปรียบเทียบระเบียบวิธี Runge-Kutta
- เปรียบเทียบ Gauss elimination ที่มีและไม่มีการทำ Pivoting
- เปรียบเทียบ Gauss elimination ที่มีและไม่มีการทำ Pivoting (Spreadsheet)
- ฟังก์ชันแกมมา (Gamma function) และ ฟังก์ชันเบสเซล (Bessel function)
- เมื่อ 1 ไม่เท่ากับ 0.1 x 10
- ระเบียบวิธี Implicit Euler และ Crank-Nicholson กับ Stiff equation
- เลขฐาน ๑๐ เลขฐาน ๒ จำนวนเต็ม จำนวนจริง
- Distribution functions
- LU decomposition ร่วมกับ Iterative improvement
- LU decomposition ร่วมกับ Iterative improvement (pdf)
- LU decomposition ร่วมกับ Iterative improvement (Spreadsheet)
- Machine precision กับ Machine accuracy
เคมีสำหรับวิศวกรเคมี
- กรด-เบส : อ่อน-แก่
- กรด-เบส : อะไรควรอยู่ในบิวเรต
- กราฟการไทเทรตกรดกำมะถัน (H2SO4)
- กราฟการไทเทรตกรดกำมะถัน (H2SO4) ตอนที่ ๒
- กราฟการไทเทรตกรดที่ให้โปรตอนได้ ๒ ตัว
- กราฟการไทเทรตกรดที่ให้โปรตอนได้ ๓ ตัว
- กราฟการไทเทรตกรดไฮโปคลอรัส (HOCl)
- กราฟอุณหภูมิการกลั่นของน้ำมันเบนซิน (Gasoline distillation curve)
- กลิ่นกับอันตรายของสารเคมี
- การกำจัดสีเมทิลีนบลู
- การเกิดปฏิกิริยาเคมี
- การเจือจางไฮโดรคาร์บอนในน้ำ
- การใช้ pH probe
- การใช้ Tetraethyl lead นอกเหนือไปจากการเพิ่มเลขออกเทน
- การดูดกลืนคลื่นแสงของแก้ว Pyrex และ Duran
- การดูดกลืนแสงสีแดง
- การเตรียมสารละลายด้วยขวดวัดปริมาตร
- การเตรียมหมู่เอมีนและปฏิกิริยาของหมู่เอมีน (การสังเคราะห์ฟีนิลบิวตาโซน)
- การทำน้ำให้บริสุทธิ์สำหรับห้องปฏิบัติการ
- การทำปฏิกิริยาของโพรพิลีนออกไซด์ (1,2-Propylene oxide) ตอนที่ ๑
- การทำปฏิกิริยาของโพรพิลีนออกไซด์ (1,2-Propylene oxide) ตอนที่ ๒
- การทำปฏิกิริยาของหมู่ Epoxide ในโครงสร้าง Graphene oxide
- การทำปฏิกิริยาต่อเนื่องของผลิตภัณฑ์
- การเทของเหลวใส่บิวเรต
- การน๊อคของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน และสารเพิ่มเลขออกเทนของน้ำมัน
- การเปลี่ยนพลาสติกเป็นน้ำมัน
- การเปลี่ยนเอทานอล (Ethanol) ไปเป็นอะเซทัลดีไฮด์ (Acetaldehyde)
- การเรียกชื่อสารเคมี
- การลดการระเหยของของเหลว
- การละลายของแก๊สในเฮกเซน (Ethylene polymerisation)
- การละลายเข้าด้วยกันของโมเลกุลมีขั้ว-ไม่มีขั้ว
- การวัดความเป็นกรดบนพื้นผิวของแข็ง (อีกครั้ง)
- การวัดปริมาณ-ความแรงของตำแหน่งที่เป็นกรดบนพื้นผิว
- การวัดปริมาณตำแหน่งที่เป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็งด้วย GC
- การวัดปริมาตรของเหลว
- การหาความเข้มข้นสารละลายมาตรฐานกรด
- การหาจุดสมมูลของการไทเทรตจากกราฟการไทเทรต
- การอ่านผลการทดลองการไทเทรตกรด-เบส
- การอ่านผลการทดลองการไทเทรตกรด-เบส (ตอนที่ ๒)
- การอ่านผลการทดลองการไทเทรตกรด-เบส (ตอนที่ ๓)
- แก๊สมัสตาร์ดกับกลิ่นทุเรียน
- ข้อควรระวังเมื่อใช้ออกซิเจนความเข้มข้นสูง
- คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับงานเคมีวิเคราะห์
- ความกระด้าง (Hardness) ของน้ำกับปริมาณของแข็งทั้งหมด ที่ละลายอยู่ (Total Dissolved Solid - TDS)
- ความดันกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
- ความเป็นกรดของหมู่ไฮดรอกซิล (Hydroxyl group) ตอนที่ ๑
- ความเป็นกรดของหมู่ไฮดรอกซิล (Hydroxyl group) ตอนที่ ๒
- ความเป็นกรดของอัลฟาไฮโดรเจนอะตอม (alpha-Hydrogen atom) ตอน กรดบาร์บิทูริก (Barbituric acid)
- ความเป็นกรดของอัลฟาไฮโดรเจนอะตอม (alpha-Hydrogen atoms)
- ความเป็นขั้วบวกของอะตอม C และการทำปฏิกิริยาของอีพิคลอโรไฮดริน (epichlorohydrin)
- ความเป็นไอออนิก (Percentage ionic character)
- ความสัมพันธ์ระหว่างสีกับชนิดและปริมาณธาตุ
- ความสำคัญของเคมีวิเคราะห์และเคมีอินทรีย์ในงานวิศวกรรมเคมี
- ความเห็นที่ไม่ลงรอยกับโดเรมี่
- ค้างที่ปลายปิเปตไม่เท่ากัน
- คำตอบของ Cubic equation of state
- จากกลีเซอรอล (glycerol) ไปเป็นอีพิคลอโรไฮดริน (epichlorohydrin)
- จากเบนซาลดีไฮด์ (Benzaldehyde) ไปเป็นกรดเบนซิลิก (Benzilic acid)
- จากโอเลฟินส์ถึงพอลิอีเทอร์ (From olefins to polyethers)
- จาก Acetone เป็น Pinacolone
- จาก Alkanes ไปเป็น Aramids
- จาก Aniline ไปเป็น Methyl orange
- จาก Benzene ไปเป็น Butter yellow
- จาก Hexane ไปเป็น Nylon
- จาก Toluene และ m-Xylene ไปเป็นยาชา
- ดำหรือขาว
- ตกค้างเพราะเปียกพื้นผิว
- ตอบคำถามแบบแทงกั๊ก
- ตอบคำถามให้ชัดเจนและครอบคลุม
- ตำราสอนการใช้ปิเปตเมื่อ ๓๓ ปีที่แล้ว
- ไตรเอทานอลเอมีน (Triethanolamine)
- ถ่านแก๊ส หินแก๊ส แก๊สก้อน
- ทอดไข่เจียวให้อร่อยต้องใช้น้ำมันหมู
- ทำไมน้ำกระด้างจึงมีฟอง
- ที่แขวนกล้วย
- เท่ากับเท่าไร
- โทลูอีน (Toluene)
- ไทโอนีลคลอไรด์ (Thionyl chloride)
- นานาสาระเคมีวิเคราะห์
- น้ำด่าง น้ำอัลคาไลน์ น้ำดื่ม
- น้ำดื่ม (คิดสักนิดก่อนกดแชร์ เรื่องที่ ๑๑)
- น้ำตาลทราย ซูคราโลส และยาคุมกำเนิดสำหรับผู้ชาย
- น้ำบริสุทธิ์ (Purified water)
- ไนโตรเจนเป็นแก๊สเฉื่อยหรือไม่
- บีกเกอร์ 250 ml
- แบบทดสอบก่อนเริ่มเรียนวิชาเคมีสำหรับนิสิตวิศวกรรมเคมี
- ปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจนและการแทนที่ไฮโดรเจนของอะเซทิลีน (Hydrogenation and replacement of acetylenic hydrogen)
- ปฏิกิริยาการผลิต Vinyl chloride
- ปฏิกิริยาการออกซิไดซ์
- ปฏิกิริยา alpha halogenation และการสังเคราะห์ tertiary amine
- ปฏิกิริยา ammoxidation หมู่เมทิลที่เกาะอยู่กับวงแหวนเบนซีน
- ปฏิกิริยา Benzene alkylation
- ปฏิกิริยา Dehydroxylation
- ปฏิกิริยา Electrophilic substitution ของ m-Xylene
- ปฏิกิริยา Nucleophilic substitution ของสารประกอบ Organic halides
- ประโยชน์ของ Nitric oxide ในทางการแพทย์
- ปัญหาการสร้าง calibration curve ของ ICP
- ปัญหาการหาความเข้มข้นสารละลายกรด
- ปัญหาของไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว
- โป้ง ชี้ กลาง นาง ก้อย
- ผลของค่าพีเอชต่อสีของสารละลายเปอร์แมงกาเนต
- ผลของอุณหภูมิต่อการแทนที่ตำแหน่งที่ 2 บนวงแหวนเบนซีน
- ฝึกงานภาคฤดูร้อน ๒๕๕๓ ตอนที่ ๑ อธิบายศัพท์
- พีคเหมือนกันก็แปลว่ามีหมู่ฟังก์ชันเหมือนกัน
- ฟลูออรีนหายไปไหน
- ฟอสฟอรัสออกซีคลอไรด์ (Phosphorus Oxychloride)
- ฟีนอล แอซีโทน แอสไพริน พาราเซตามอล สิว โรคหัวใจ และงู
- มุมมองที่ถูกจำกัด
- เมทานอลกับเจลล้างมือ
- เมื่อคิดในรูปของ ...
- เมื่อตำรายังพลาดได้ (Free radical polymerisation)
- เมื่อน้ำเพิ่มปริมาตรเองได้
- เมื่อหมู่คาร์บอนิล (carbonyl) ทำปฏิกิริยากันเอง
- รังสีเอ็กซ์
- เรื่องของสไตรีน (คิดสักนิดก่อนกด Share เรื่องที่ ๑)
- แลปการไทเทรตกรด-เบส ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา ๒๕๖๐
- ศัพท์เทคนิค-เคมีวิเคราะห์
- สรุปคำถาม-ตอบการสอบวันศุกร์ที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๒
- สีหายไม่ได้หมายความว่าสารหาย
- เสถียรภาพของอนุมูลอิสระ (๑)
- เสถียรภาพของอนุมูลอิสระ (๒)
- เสถียรภาพของอนุมูลอิสระ (๓)
- หมู่ทำให้เกิดสี (chromophore) และหมู่เร่งสี (auxochrome)
- หลอกด้วยข้อสอบเก่า
- อะเซทิลีน กลีเซอรีน และไทออล
- อะโรมาติก : การผลิต การใช้ประโยชน์ และปัญหา
- อัลคิลเอมีน (Alkyl amines) และ อัลคิลอัลคานอลเอมีน (Alkyl alkanolamines)
- อีเทอร์กับการเกิดสารประกอบเปอร์ออกไซด์
- อุณหภูมิ อัตราการเกิดปฏิกิริยา สมดุลเคมี
- เอา 2,2-dimethylbutane (neohexane) ไปทำอะไรดี
- เอาเบนซีนกับเอทานอลไปทำอะไรดี
- เอา isopentane ไปทำอะไรดี
- เอา maleic anhydride ไปทำอะไรดี
- เอา pentane ไปทำอะไรดี
- ไอโซเมอร์ (Isomer)
- ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์กับพอลิโพรพิลีน
- Acentric factor
- Aldol condensation กับ Cannizzaro reaction
- Aldol condesation ระหว่าง Benzaldehyde กับ Acetone
- A-Level เคมี ปี ๖๖ ข้อพอลิเอทิลีน
- Beilstein test กับเตาแก๊สที่บ้าน
- Benzaldehyde กับปฏิกิริยา Nitroaldol
- BOD และ COD
- BOD หรือ DO
- Carbocation - การเกิดและเสถียรภาพ
- Carbocation - การทำปฏิกิริยา
- Carbocation ตอนที่ ๓ การจำแนกประเภท-เสถียรภาพ
- Chloropicrin (Trichloronitromethane)
- Compressibility factor กับ Joule-Thomson effect
- Conjugated double bonds กับ Aromaticity
- Cubic centimetre กับ Specific gravity
- Dehydration, Esterification และ Friedle-Crafts Acylation
- Electrophilic addition ของอัลคีน
- Electrophilic addition ของอัลคีน (๒)
- Electrophilic addition ของ conjugated diene
- Electrophilic substitution ตำแหน่งที่ 1 บนวงแหวนเบนซีน
- Electrophilic substitution ตำแหน่งที่ 2 บนวงแหวนเบนซีน ตอน ผลของอุณหภูมิการทำปฏิกิริยา
- Electrophilic substitution ตำแหน่งที่ 3 บนวงแหวนเบนซีน
- Electrophilic substitution ตำแหน่งที่ 3 บนวงแหวนเบนซีน ตอน การสังเคราะห์ 2,4-Dinitrophenol
- Esterification of hydroxyl group
- Gibbs Free Energy กับการเกิดปฏิกิริยาและการดูดซับ
- Halogenation ของ alkane
- Halogenation ของ alkane (๒)
- HCl ก่อน ตามด้วย H2SO4 แล้วจึงเป็น HNO3
- I2 ในสารละลาย KI กับไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว
- Infrared spectrum interpretation
- Interferometer
- IR spectra ของโทลูอีน (Toluene) เอทิลเบนซีน (Ethylbenzene) โพรพิลเบนซีน (Propylbenzene) และคิวมีน (Cumene)
- IR spectra ของเบนซีน (Benzene) และไซลีน (Xylenes)
- IR spectra ของเพนทีน (Pentenes)
- Kjeldahl nitrogen determination method
- Malayan emergency, สงครามเวียดนาม, Seveso และหัวหิน
- MO ตอบคำถาม การวัดความเป็นกรด-เบสบนพื้นผิวของแข็ง
- Nucleophile กับ Electrophile
- PAT2 เคมี ปี ๖๕ ข้อการไทเทรตกรดเบส
- Peng-Robinson Equation of State
- Phenol, Ether และ Dioxin
- Phospharic acid กับ Anhydrous phosphoric acid และ Potassium dioxide
- pH Probe
- Picric acid (2,4,6-Trinitrophenol) และ Chloropicrin
- PV diagram กับการอัดแก๊ส
- Pyrophoric substance
- Reactions of hydroxyl group
- Reactions of hydroxyl group (ตอนที่ ๒)
- Redlich-Kwong Equation of State
- Redlich-Kwong Equation of State (ตอนที่ ๒)
- Soave-Redlich-Kwong Equation of State
- Standard x-ray powder diffraction pattern ของ TiO2
- Sulphur monochloride และ Sulphur dichloride
- Thermal cracking - Thermal decomposition
- Thiols, Thioethers และ Dimethyl thioether
- Van der Waals' Equation of State
- Vulcanisation
ประสบการณ์ Gas chromatograph/Chromatogram
- 6 Port sampling valve
- กระดาษความร้อน (thermal paper) มี ๒ หน้า
- การแก้ปัญหา packing ในคอลัมน์ GC อัดตัวแน่น
- การฉีดแก๊สเข้า GC ด้วยวาล์วเก็บตัวอย่าง
- การฉีดตัวอย่างที่เป็นของเหลวด้วย syringe
- การฉีด GC
- การใช้ syringe ฉีดตัวอย่างที่เป็นแก๊ส
- การดึงเศษท่อทองแดงที่หักคา tube fitting ออก
- การตั้งอุณหภูมิคอลัมน์ GC
- การติดตั้ง Integrator ให้กับ GC-8A เพื่อวัด CO2
- การเตรียมคอลัมน์ GC ก่อนการใช้งาน
- การปรับความสูงพีค GC
- การวัดปริมาณไฮโดรเจนด้วย GC-TCD
- ข้อสังเกตเกี่ยวกับ FPD (ตอนที่ ๒)
- ข้อสังเกตเกี่ยวกับ FPD (Flame Photometric Detector)
- โครมาโทกราฟแยกสารได้อย่างไร
- ชนิดคอลัมน์ GC
- ตรวจโครมาโทแกรม ก่อนอ่านต้วเลข
- ตัวอย่างการแยกพีค GC ที่ไม่เหมาะสม
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๑
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๒
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๓
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๔
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๕
- ทำความรู้จักกับ Chromatogram ตอนที่ ๖
- ทำไมพีคจึงลากหาง
- ผลกระทบของน้ำที่มีต่อการวัดคาร์บอนไดออกไซด์ ตอนที่ ๑
- ผลกระทบของน้ำที่มีต่อการวัดคาร์บอนไดออกไซด์ ตอนที่ ๒
- ผลกระทบของน้ำที่มีต่อการวัดคาร์บอนไดออกไซด์ ตอนที่ ๓
- พีคที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างน้ำกับ packing ในคอลัมน์ GC
- พีคประหลาดจากการใช้อากาศน้อยไปหน่อย
- มันไม่เท่ากันนะ
- เมื่อความแรงของพีค GC ลดลง
- เมื่อจุดไฟ FID ไม่ได้
- เมื่อพีค GC หายไป
- เมื่อพีค GC ออกมาผิดเวลา
- เมื่อพีค GC ออกมาผิดเวลา(อีกแล้ว)
- เมื่อเพิ่มความดันอากาศให้กับ FID ไม่ได้
- เมื่อ GC ถ่านหมด
- เมื่อ GC มีพีคประหลาด
- ลากให้ผ่านหรือไม่ให้ผ่าน
- สัญญาณจาก carrier gas รั่วผ่าน septum
- สารพัดปัญหา GC
- สิ่งปนเปื้อนในน้ำ DI
- สิ่งปนเปื้อนในน้ำ DI (ตอนที่ ๒)
- Chromatograph principles and practices
- Flame Ionisation Detector
- GC-2014 ECD & PDD ตอนที่ ๗ ข้อสังเกตเกี่ยวกับ ECD (Electron Capture Detector)
- GC detector
- GC - peak fitting ตอนที่ ๑ การหาพื้นที่พีคที่เหลื่อมทับ
- GC principle
- LC detector
- LC principle
- MO ตอบคำถาม การแยกพีค GC ด้วยโปรแกรม fityk
- MO ตอบคำถาม สารพัดปัญหาโครมาโทแกรม
- Relative Response Factors (RRF) ของสารอินทรีย์ กับ Flame Ionisation Detector (FID)
- Thermal Conductivity Detector
- Thermal Conductivity Detector ภาค 2
สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items - DUI)
- การก่อการร้ายด้วยแก๊สซาริน (Sarin) ในรถไฟใต้ดินกรุงโตเกียว MO Memoir : Friday 6 September 2567
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๐ ฟังก์ชันเข้ารหัสรีโมทเครื่องปรับอากาศ
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๑ License key
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๒ สารเคมี (Chemicals)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๓ ไม่ตรงตามตัวอักษร (สารเคมี)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๔ ไม่ตรงตามตัวอักษร (Heat exchanger)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๕ Sony PlayStation
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๖ เส้นใยคาร์บอน (Carbon fibre)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๗ The Red Team : Centrifugal separator
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๘ The Blue Team : Spray drying equipment
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑๙ เครื่องสลายนิ่วในไตด้วยคลื่นกระแทก (Lithotripter)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๑ ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒๐ เรซินแลกเปลี่ยนไอออน (Ion-exchange resin)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒๑ ไม่ตรงตามตัวอักษร (Aluminium tube)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒๒ เครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า (Defibrillator)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒๓ เครื่องยนต์ดีเซล
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๒ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๓ เครื่องแปลงความถี่ไฟฟ้า (Frequency Changer)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๔ อุปกรณ์เข้ารหัส (Encoding Device)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๕ Insulated Gate Bipolar Transistor (IGBT)
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๖ Toshiba-Kongsberg Incident
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๗ รายงานผลการทดสอบอุปกรณ์
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๘ Drawing อุปกรณ์
- การวินิจฉัยการเข้าข่ายสินค้าที่ใช้ได้สองทาง ตัวอย่างที่ ๙ ซอร์ฟแวร์ควบคุมการทำงานอุปกรณ์
- เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนสำหรับเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์
- แคลเซียม, แมกนีเซียม และบิสมัท กับการผลิตอาวุธทำลายล้างสูง
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๑
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๑๐
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๒
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๓
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๔
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๕
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๖
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๗
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๘
- สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) ตอนที่ ๙
API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๐)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๑)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๒)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๓)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๔)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๕)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๑๖)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๒)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๓)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๔)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๕)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๖)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๗)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๘)
- API 2000 Venting Atmospheric and Low-Pressure Storage Tanks (ตอนที่ ๙)
โน๊ตเพลง
- "กำลังใจ" และ "ถึงเพื่อน"
- "ใกล้รุ่ง" และ "อาทิตย์อับแสง"
- "คนดีไม่มีวันตาย" "หนึ่งในร้อย (A Major) และ "น้ำตาแสงใต้ (A Major)"
- "ความฝันอันสูงสุด" และ "ยามเย็น"
- "จงรัก" และ "ความรักไม่รู้จบ"
- "ฉันยังคอย" และ "ดุจบิดามารดร"
- "ชาวดง" และ "ชุมนุมลูกเสือไทย"
- "ตัดใจไม่ลง" และ "ลาสาวแม่กลอง"
- "เติมใจให้กัน" และ "HOME"
- "แต่ปางก่อน" "ความรักไม่รู้จบ" "ไฟเสน่หา" และ "แสนรัก"
- "ทะเลใจ" "วิมานดิน" และ "เพียงแค่ใจเรารักกัน"
- "ที่สุดของหัวใจ" "รักล้นใจ" และ "รักในซีเมเจอร์"
- "ธรณีกรรแสง" และ "Blowin' in the wind"
- "นางฟ้าจำแลง" "อุษาสวาท" และ "หนี้รัก"
- "แผ่นดินของเรา" และ "แสงเทียน"
- "พรปีใหม่" และ "สายฝน"
- "พี่ชายที่แสนดี" "หลับตา" และ "หากรู้สักนิด"
- เพลงของโรงเรียนเซนต์คาเบรียล
- "มหาจุฬาลงกรณ์" "ยูงทอง" และ "ลาภูพิงค์"
- "ยังจำไว้" "บทเรียนสอนใจ" และ "ความในใจ"
- "ร่มจามจุรี" และ "เงาไม้"
- "ลมหนาว" และ "ชะตาชีวิต"
- "ลองรัก" และ "วอลซ์นาวี"
- "ลาแล้วจามจุรี"
- "วันเวลา" และ "โลกทั้งใบให้นายคนเดียว"
- "วิหคเหินลม" และ "พรานทะเล"
- "สายชล" และ "เธอ"
- "สายใย" และ "ความรัก"
- "สายลม" และ "ไกลกังวล"
- "สายลมเหนือ" และ "เดียวดายกลางสายลม"
- "หน้าที่ทหารเรือ" และ "ทหารพระนเรศวร"
- "หนึ่งในร้อย" และ "น้ำตาแสงใต้"
- "หากันจนเจอ" และ "ลมหายใจของกันและกัน"
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น