ในที่สุดเราก็ระบุตำแหน่งพีค
NH3
ได้สักที
(คิดว่าคงใช้แล้วล่ะ)
โดยใช้
operating
condition ที่เรียบง่ายกว่าที่ทางบริษัทกำหนดให้
ผลการทดลองที่บันทึกใน
Memoir
ฉบับนี้ยังเป็นผลงานของกลุ่ม
สาว สาว สาว (สาวน้อยหน้าบาน
สาวน้อยร้อยแปดสิบเซนต์
และสาวน้อยผิวเข้ม)
ในการระบุตำแหน่งพีค
NH3
ตอนแรกจะออก
Memoir
ฉบับนี้ตั้งแต่เมื่อวานแล้ว
แต่ปัญหาเรื่อง ECD
ทำให้ต้องเลื่อนมาออกในวันนี้แทน
ภาวะการทำงานของเครื่อง
GC-2014
ECD & PDD เป็นเช่นเดียวกันที่ใช้ตอนหาพีค
N2O
(ดูรายละเอียดใน
Memoir
ปีที่
๔ ฉบับ ๓๙๒ วันจันทร์ที่ ๓๐
มกราคม ๒๕๕๕ เรื่อง "GC-2014
ECD & PDD ตอนที่
๑๔ ตำแหน่งพีค N2O"
ผลการทดลองเป็นอย่างไรก็ดูตามรูปที่
๑-๔
ไปก็แล้วกัน
รูปที่
๑ พีคจากการฉีด NH3
10000 ppm ใน
N2
ขนาดตัวอย่า
ง0.5
ml เปรียบเทียบการฉีด
๒ ครั้ง
แสดงให้เห็นว่าฝีมือมีการพัฒนาดีขึ้นมากกว่าแต่ก่อน
โดยเฉพาะในเรื่องการปรับความดันแก๊สใน
sampling
loop
รูปที่
๒ ภาพขยายบริเวณ 7
นาทีแรกของรูปที่
๒ แสดงให้เห็นการเกิดและการสิ้นสุดของพีค
NH3
จะเห็นว่าเมื่อเทียบกับพีค
N2O
(ดู
Memoir
ฉบับวันจันทร์ที่
๓๐ มกราคม ๒๕๕๕)
พีค
NH3
จะออกมาหลัง
2
นาที
ในขณะที่พีค N2O
จะออกมาก่อนเวลา
2
นาทีเล็กน้อย
รูปที่
๓ พีคจากการฉีด NH3
10000 ppm ใน
N2
ผสมกับแก๊ส
N2
ไม่ทราบอัตราส่วน
(ฉีด
๒ ครั้ง)
การทดสอบนี้เป็นการยืนยันว่าพีคที่เห็นเป็นพีคของ
NH3
รูปที่
๔ ภาพขยายบริเวณ 7
นาทีแรกของรูปที่
๓ แสดงให้เห็นการเกิดและการสิ้นสุดของพีค
NH3
จะเห็นว่าพีค
NH3
จะไปสิ้นสุดที่เวลาประมาณ
6
นาที